Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/703
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorยุทธพร อิสรชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปราโมทย์ รวิยะวงศ์, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T02:19:29Z-
dc.date.available2022-08-18T02:19:29Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/703-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สาเหตุความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างผู้นำท้องถิ่นและผู้นำท้องที่ (2) รูปแบบของความขัดแย้งระหว่างผู้นำท้องถิ่นและผู้นำท้องที่ (3) วิธีจัดการความขัดแย้งระหว่างผู้นำท้องถิ่นและผู้นำท้องที่ (4) ผลกระทบของความขัดแย้งระหว่างผู้นำท้องถิ่นและผู้นำท้องที่ ผลการวิชัย พบว่า (1)สาเหตุความขัดแย้งมาจากด้านบุคคล ปฏิสัมพ้นข์ในการทำงานและสภาพของพื้นที่และองค์กร เป็นความขัดแย้งด้านผลประโยชน์และเป๋าหมายที่แตกต่างกัน ทำให้เกิดความคิดเห็นที่ไม่ ตรงกัน และผลประโยชน์ทางการเมือง ก็อาจเป็นตัวแปรหรือปัจจัยในความขัดแย้งที่เกิดขึ้นได้ (2) รูปแบบความขัดแย้ง ส่วนมากเป็นรูปแบบความขัดแย้งทางความคิด ทำให้การติดต่อสื่อสารขาดประสิทธิภาพ เกิดการปฏิบัติที่แตกต่างกัน (3) วิธิจัดการความขัดแย้งส่วน ใหญ่ใช้วิธีการประนีประนอม (4) ผลกระทบของความขัดแย้ง ก่อให้เกิดผลเสียมากกว่าผลดี ผลเสียได้แก่ ความเป็นมิตรระหว่างบุคคลลดลง ความเชื่อ คือ ไว้วางใจต่อกันหมดไป เกิดความแตกแยก เป็นฟักฝ่าย เกิดความบาดหมางระหว่างกัน อาจนำมาซึ่งการใช้อารมณ์มากกว่าเหตุผลในการแก้ไขปัญหา สัมพันธภาพที่ดีลดลง นำไปสู่ความตึงเครียดและ/หรือหาทางออกด้วยวิธิการที่รุนแรงประชาชนเกิดความเบื่อหน่าย ผลดี ได้แก่ เกิดความผิดพลาดในการทำงานลดลง เกิดความคิดที่ สร้างสรรค์และแสวงหาข้อเท็จจริง มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจมากขึ้น ปัญหาชัดเจนมากขึ้น เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น เกิดความสามัคคีในหน่วยงาน และผลกระทบต่อหน่วยงาน ได้แก่ทำให้ภาพพจน์ของหน่วยงานเสียหาย ขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงาน เกิดการต่อด้าน ประชาชนไม่ให้ความร่วมมือ เกิดการพัฒนาที่ล่าช้า ขาดขวัญและกำลังใจในการทำงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผู้นำชุมชนth_TH
dc.subjectความขัดแย้งทางบทบาทth_TH
dc.subjectความขัดแย้งทางสังคมth_TH
dc.titleปัญหาความขัดแย้งระหว่างผู้นำท้องถิ่นกับผู้นำท้องที่ : ศึกษากรณีอำเภอยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคามth_TH
dc.title.alternativeConflicts between local and provincial leaders : a case study of Yang Si Suraj District, Maha Sarakham Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the causes of conflicts between local leaders and provincial leaders; (2) the kinds of conflicts between local leaders and provincial leaders; (3) ways of resolving conflicts between local leaders and provincial leaders; and (4) the impacts of conflicts between local leaders and provincial leaders. The results showed that (1) the causes of the conflicts were personal factors, work interactions, local conditions, and organizational conditions. The conflicts were about benefits (conflicts of interest) and differing goals, which led to opposing viewpoints. Political advantage was also sometimes a variable or factor affecting the conflicts. (2) Most of the conflicts were ideological conflicts, leading to a drop in efficiency of communications and discord in operations. (3) The management method most commonly used to resolve the conflicts was compromise. (4) The impacts of the conflicts were more negative than positive. Negative impacts included reduced amity in personal relations, reduced feelings of mutual trust, a lack of unity and breaking into different sides, dissension and estrangement, a tendency to let emotions hold sway over reason, increased stress, sometimes violence, and displeasure on the part of citizens and voters. The positive impacts were a reduction in mistakes in work steps, greater incentive to search for facts, stimulation of creative ideas, a tendency to gather more information before making decisions, greater clarification of problems, positive changes in the community, and greater unity in work units. The impacts on work units included damage to their reputation, lack of efficiency, opposition or lack of cooperation on the part of citizens, delays to development project and a decrease in monde.en_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
122021.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons