Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7057
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุลชลี จงเจริญth_TH
dc.contributor.authorปิ่นแก้ว หนูน้อย, 2514-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-01T08:25:33Z-
dc.date.available2023-07-01T08:25:33Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7057en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการบริหารแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนา ผู้เรียนตามการรับรู้ของครูสังกัดเทศบาลเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (2) ศึกษาปัญหาการบริหารแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามการรับรู้ของครู สังกัดเทศบาลเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และ (3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามการรับรู้ของครู สังกัดเทศบาลเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดเทศบาลเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปีการศึกษา 2557 จำนวน 113 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามตารางเครจซี่และมอร์แกน แล้วทำการสุ่มตามสัดส่วนและการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหาผลการศึกษาปรากฎว่า (1) การบริหารแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามการรับรู้ของครูสังกัดเทศบาลเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าการวางแผน การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ และการนิเทศ กำกับ ติดตามประเมินผล อยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน (2) ปัญหาการบริหารแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามการรับรู้ของครูสังกัดเทศบาลเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณารายด้าน ได้แก่ การวางแผน การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ และการนิเทศ กำกับ ติดตามประเมินผล มีปัญหาอยู่ในระดับปานกลางเช่นเดียวกัน และ (3) แนวทางการพัฒนาการบริหารแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามการรับรู้ของครูสังกัดเทศบาลเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาควรจัดอบรมและประชุมวางแผนกำหนดนโยบายยุทธศาสตร์ของสถานศึกษาในการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา จัดอบรมสัมมนาพัฒนาครูให้มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำแผนการสอนและการปฏิบัติงานในการใช้แหล่งเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 และผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่เกี่ยวข้องควรมีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการใช้แหล่งเรียนรู้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นระยะและอย่างต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleการบริหารแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามการรับรู้ของครูสังกัดเทศบาลเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์th_TH
dc.title.alternativeLearning resources management for learner development as perceived by teachers under Hua Hin Town Municipality, Prachuap Khiri Khan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study the conditions of learning resources management for learner development as perceived by teachers under Hua Hin Town Municipality, Prachuap Khiri Khan province; (2) to study problems of learning resources management for learner development as perceived by teachers under Hua Hin Town Municipality, Prachuap Khiri Khan province; and (3) to study the learning resources management guidelines for learner development as perceived by teachers under Hua Hin Town Municipality, Prachuap Khiri Khan province. The sample consisted of 113 teachers in schools under Hua Hin Town Municipality, Prachuap Khiri Khan province, obtained by proportional and simple random samplings. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Table of Sample Size. The research instrument was a rating scale questionnaire with reliability coefficient of 0.93. Statistics employed for quantitative data analysis were the frequency, percentage, mean, and standard deviation; while qualitative data were analyzed with content analysis. The findings showed that (1) the overall management of learning resources for learner development as perceived by teachers under Hua Hin Town Municipality, Prachuap Khiri Khan province was rated at the high level; when specific aspects of learning resources management were considered, it was found that the planning aspect, the plan implementation aspect, and the supervision, monitoring, follow-up, and evaluation aspect were also rated at the high level; (2) the overall problem of learning resources management for learner development as perceived by teachers under Hua Hin Town Municipality, Prachuap Khiri Khan province was rated at the moderate level; when specific aspects of learning resources management were considered, it was found that the problems of all of the three aspects, namely, the planning aspect, the plan implementation aspect, and the supervision, monitoring, follow-up, and evaluation aspect were also rated at the moderate level; and (3) as for the learning resources management guidelines for learner development as perceived by teachers under Hua Hin Town Municipality, Prachuap Khiri Khan province, the following recommendations were given: the school administrators should organize the training and seminars for planning and formation of policy and strategies for resources development both inside and outside of the school; they should organize the training and seminars for equipping the teachers with knowledge and understanding in integrating learning resources in their instructional planning in accordance with the National Basic Education Curriculum, B.E. 2551; and they or the concerned personnel should supervise, monitor, follow up and evaluate the use of learning resources in organizing instructional activities periodically and continuously.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_153240.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons