Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7058
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์th_TH
dc.contributor.authorปิยนันท์ แววนิลานนท์, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-01T08:36:17Z-
dc.date.available2023-07-01T08:36:17Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7058en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการจัดระบบสารสนเทศในการบริหารงานโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 และ (2) เปรียบเทียบการจัดระบบสารสนเทศในการบริหารงานโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 จำแนกตามขนาดโรงเรียนกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารและครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 ปีการศึกษา 2554 ผู้บริหาร จำนวน 34 คน และครู จำนวน 288 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมีความเชื่อมั่นเท่ากับ.84 โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟผลการศึกษาพบว่า (1) การจัดระบบสารสนเทศในการบริหารงานโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการนำข้อมูลไปใช้มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนด้านการวิเคราะห์ข้อมูล ด้านการเก็บรวบรวมข้อมูล ด้านการประมวลผลข้อมูล ด้านการตรวจสอบข้อมูลและด้านการจัดเก็บข้อมูลมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (2) การจัดระบบสารสนเทศในการบริหารงานโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 ในภาพรวมของโรงเรียนขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็กไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการประมวลผลข้อมูล ด้านการจัดเก็บข้อมูล ด้านการวิเคราะห์ข้อมูล และด้านการนำข้อมูลไปใช้ไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านการเก็บรวบรวมข้อมูลและด้านการตรวจสอบข้อมูลหาประสิทธิภาพโรงเรียนขนาดใหญ่มีการปฏิบัติแตกต่างกับโรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนขนาดกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--ศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectการบริหารการศึกษาth_TH
dc.titleการจัดระบบสารสนเทศในการบริหารงานโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1th_TH
dc.title.alternativeManagement information system in school administration under the Office of Elementary Phranakhonsriayutthaya Service Areas 1en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is (1) to study Management Information System in School Administration under the Office of Elementary PhraNakhonSriyutthaya Service Areas 1 and (2) to compare Management Information System in School Administration under the Office of Elementary PhraNakhonSriAyutthaya Service Areas 1 by school size. The sample consisted of 34 administrators and 288 teachers. The instrument was a questionnaire. The questionnaire reliability was .84. The statistical analysis was performed in term of arithmetic mean, standard deviation, one way anova and Scheffe’s method. The findings indicated that (1) Management Information System in School Administration under the Office of Elementary PhraNakhonSriAyutthaya Service Areas 1 were at a high level. When each aspect was considered, The use of such information at the highest level. For The data analysis, The data collection, The data processing, The data validation, and The data storage. Performed at the high level. (2) Management Information System in School Administration under the Office of Elementary PhraNakhonSriAyutthaya Service Areas 1 in large school, medium school, and small school not differences. When each aspect was considered, The data processing, The data storage, The data analysis and The use of such information not differences. In The data collection and The data validation revealed differences at .05 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_130377.pdfเอกสารฉบับเต็ม879.45 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons