Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7064
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมริน เปรมปรี, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-03T01:29:08Z-
dc.date.available2023-07-03T01:29:08Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7064-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (2) ความต้องการรับบริการอบรมของกองทุนเพื่อเสริมสมรรถนะการดำเนินงาน จากมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนานโยบาย (สวน.) (3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อความต้องการ รับบริการอบรมของกองทุนเพื่อเสริมสมรรถนะการดำเนินงานจากมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนานโยบาย (สวน.) ประชากรในการวิจัย คือ ผู้รับผิดชอบบริหารหรือปฏิบัติงานในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 6,866 กองทุน กำหนดขนาดตัวอย่างจากการคำนวณโดยอาศัย สูตรของ ทาโร ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้จำนวนทั้งสิ้น 378 ราย แต่ในที่นี้ได้รับ แบบสอบถามที่สมบูรณ์มากกว่าจำนวนที่คำนวณได้ จึงกำหนดขนาดตัวอย่างจำนวน 521 ราย เลือก ตัวอย่างแบบชั้นภูมิและตามสะดวกจากกองทุนทั่วประเทศไทย เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้ สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน คือ ค่าไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) กองทุนส่วนใหญ่เป็นกองทุนในองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นระดับ ท้องถิ่น เฉลี่ยระยะเวลาการดำเนินงานประมาณ 5 ปี มีงบประมาณรวมของกองทุนปี พ.ศ. 2556 เฉลี่ย 758,088.86 บาท งบประมาณสนับสนับสนุนโครงการเฉลี่ย 534,284.94 บาท งบประมาณที่ใช้จ่ายใน หมวดพัฒนากองทุนเฉลี่ย 58,139.86 บาท และกองทุนมากกว่าร้อยละ 50 ไม่เคยได้รับการอบรมเสริม สมรรถนะ (2) กองทุนเกือบทั้งหมดมีความต้องการรับบริการอบรมเสริมสมรรถนะการดำเนินงานจาก มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนานโยบาย (สวน.) (3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาด ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ ราคา การส่งเสริมการตลาด กระบวนการ และช่องทางการจัดจำหน่ายมีความสัมพันธ์กับความต้องการรับ บริการอบรมเสริมสมรรถนะจากมูลนิธิ สวน.ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.366en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectประกันสุขภาพ -- การตลาด -- ไทยth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อความต้องการรับบริการอบรมของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อเสริมสมรรถนะการดำเนินงานจากมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนานโยบายth_TH
dc.title.alternativeMarketing mix factors affecting the training needs for operational capacity improvement of health security funding agencies from the policy research and development institute foundationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the characteristics of health security local funds; (2) the training needs of health security funding agencies for operational capacity improvement from the Policy Research and Development Institute foundation (PRI.); (3) the marketing mix factors affecting the training needs of health security funding agencies for operational capacity improvement from the PRI. The population in this study were officers responsible for operating 6,866 local health security funds. The sample size of 378 was calculated by using Yamane’s formula. The 521 samples were collected using stratified and convenience sampling. The instrument of the study was the questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics such as means, percentages, and standard deviations; and inferential statistical tests such as chi-square tests. The results showed that (1) most of the local funds are managed by the Sub district Administrative Organizations, with average operations of five years. The total budget of Fiscal Year 2556 was 758,088.86 Baht which comprised of average project support budget of 534,248.99 Baht and average management and capacity building budget of 58,139.86 Baht. More than 50% of the Health Security Funding Agencies had never received any capacity-improvement training. (2) Almost all local funding agencies wanted to receive capacity-improvement training from PRI. (3) The marketing mix factors including product, price, promotion, process and place were statistically correlated with the needs for capacity-improvement training from PRI at the significant level of 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143297.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons