Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7066
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพัชราภรณ์ ทองวิเศษ, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-03T01:54:24Z-
dc.date.available2023-07-03T01:54:24Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7066-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ภาพลักษณ์องค์กรของรถยนต์ยี่ห้อนิสสัน ในมุมของของผู้ใช้รถยนต์ยี่ห้อนิสสันในเขตภาคอีสานตอนบน (2) ภาพลักษณ์พนักงานของรถยนต์ยี่ห้อนิสสัน ในมุมของของผู้ใช้รถยนต์ยี่ห้อนิสสันในเขตภาคอีสานตอนบน (3) ภาพลักษณ์ในด้านผลิตภัณฑ์และด้านการบริการของรถยนต์ยี่ห้อนิสสัน ในมุมของผู้ใช้รถยนต์ยี่ห้อนิสสัน ในเขตภาคอีสานตอนบน (4) เปรียบเทียบภาพลักษณ์ของรถยนต์นิสสัน จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลของผู้ใช้รถยนต์ยี่ห้อนิสสัน ของผู้ใช้รถยนต์ในเขตภาคอีสานตอนบน การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ ประชากร คือ ลูกค้าผู้มาใช้บริการศูนย์บริการรถยนต์นิสสัน ที่ไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้ความคลาดเคลื่อนระดับ 0.05 จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงเฉพาะจังหวัดใหญ่ 6 จังหวัดในภาคอีสานตอนบน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และค่าเอฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับความคิดเห็นของลูกค้าที่มีต่อภาพลักษณ์ด้านองค์กรโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยผู้ใช้รถยนต์ให้ข้อคิดเห็นในเรื่ององค์กรมีชื่อเสียงและมีความมั่นคงมากที่สุด (2) ระดับความคิดเห็นของลูกค้าที่มีต่อภาพลักษณ์ด้านพนักงานโดยรวมอยู่ในระดับมากโดยผู้ใช้รถยนต์ให้ข้อคิดเห็นในเรื่องการแต่งกายมีความสะอาด สุภาพ เรียบร้อยและมีมารยาท อัธยาศัย ไมตรีที่ดี มากที่สุด (3) ระดับความคิดเห็นของลูกค้าที่มีต่อภาพลักษณ์ด้านสินค้าและบริการโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยผู้ใช้รถยนต์ให้ข้อคิดเห็นในเรื่องราคามีความเหมาะสมกับตัวสินค้า มากที่สุด (4) การเปรียบเทียบความแตกต่าง พบว่า ผู้ใช้รถยนต์ที่มีเพศ อายุ รายได้ รุ่นรถที่ใช้ อายุการใช้งานและปัจจัยในการเลือกเข้ารับบริการที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์รถยนต์นิสสันทั้งสามด้านไม่แตกต่างกัน แต่อาชีพที่แตกต่าง มีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์รถยนต์ในภาพรวมที่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.368en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริษัท นิสสัน จำกัด (ประเทศไทย) -- ความพอใจของผู้บริโภคth_TH
dc.subjectรถยนต์ -- การจัดซื้อ -- ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)th_TH
dc.subjectภาพลักษณ์องค์การth_TH
dc.titleภาพลักษณ์รถยนต์ยี่ห้อนิสสันของผู้ใช้รถยนต์ในภาคอีสานตอนบนth_TH
dc.title.alternativeImage Nissan's vehicle in the Upper Northeastth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of the research is to study: (1) the Nissan’s corporate image in the view of Nissan vehicle’s consumers in the Upper Northeast; (2) the Nissan’s employees image in the view of Nissan vehicle’s consumers in the Upper Northeast; (3) the Nissan corporate image in terms of the product and service in the view of its consumers in the Upper Northeast and (4) the comparison of Nissan brand image classified by personal factors of Nissan consumers in the Upper Northeast. This study was a survey research. The population was the customers of Nissan service center without exactly number. The sample size was 400 consumers with discrepancy of 0.05 that defined by purposive sampling for 6 province in the Upper Northeast. A questionnaire was used as a tool to collect data. The statistic was analyzed by percentage, mean, standard deviation t-test and f-test. The results from the study indicated: (1) the customers’ opinion level toward an organization image was at medium level focusing on reputation and stability.(2) the majority of customers’ opinion level toward employee’s image was at high level when considering in each aspect found that the consumers had focus on clean dressing, polite, good manners, and courtesy at the highest level (3) the majority of customers’ opinion level toward the product and service was at middle level due to the consumers’ opinion had focus on an appropriate price of the product was at the highest level (4) the comparison of personal factors found that the different of gender, age, income, car model, aged of use and the decision making of using the service had the same opinion toward Nissan vehicle image with the statistical significance level at 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143742.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons