Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7076
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ | th_TH |
dc.contributor.author | ดุจเทพ ยอดมาลัย, 2526- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-03T02:36:21Z | - |
dc.date.available | 2023-07-03T02:36:21Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7076 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการซื้อทองรูปพรรณผ่านเครือข่ายเฟซบุ๊กไลฟ์ของผู้บริโภค (2) ระดับความสำคัญปัจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยีเฟซบุ๊กไลฟ์กับการซื้อทองรูปพรรณผ่านเครือข่ายเฟซบุ๊กไลฟ์ของผู้บริโภค (3) ระดับความสำคัญปัจจัยส่วนประสมการตลาดในการซื้อทองรูปพรรณผ่านเครือข่ายเฟซบุ๊กไลฟ์ของผู้บริโภค (4) ความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยีและปัจจัยส่วนประสมการตลาดกับการซื้อทองรูปพรรณผ่านเครือข่ายเฟซบุ๊กไลฟ์ของผู้บริโภค และ (5) ปัญหาและข้อเสนอแนะของการซื้อทองรูปพรรณผ่านเครือข่ายเฟซบุ๊กไลฟ์ของผู้บริโภค การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ ประชาชนชาวไทยในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ที่เคยซื้อทองรูปพรรณผ่านเฟซบุ๊คไลฟ์ ที่ไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างได้จากตารางการสุ่มตัวอย่างของทาโร ยามาเน่ ได้จำนวน 400 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น โดยการเลือกตัวอย่างแบบตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง อายุระหว่าง 26-33 ปี ระดับการศึกษา ปวช.-ปวส. อาชีพ พนักงานเอกชน/ลูกจ้างเอกชน ระดับรายได้เฉลี่ย 15,000-30,000 บาท โดยสรุปตามวัตถุประสงค์ได้ดังนี้ (1) ลักษณะการซื้อสินค้าทองรูปพรรณผ่านเครือข่ายเฟซบุ๊คไลฟ์ของผู้บริโภค พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีเหตุผลที่ซื้อทองรูปพรรณคือซื้อเพื่อใช้สวมใส่เอง ประเภทของผลิตภัณฑ์ทองรูปพรรณที่สนใจซื้อมากที่สุดคือสร้อยคอ (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยีที่มีอิทธิพลต่อการซื้อทองรูปพรรณผ่านเครือข่ายเฟซบุ๊กไลฟ์ของผู้บริโภค พบว่า ส่วนใหญ่ให้ระดับความสำคัญของปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีในภาพรวมทั้งด้านการรับรู้ความง่ายในการใช้งานและด้านการรับรู้ประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด (3) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการซื้อทองรูปพรรณผ่านเครือข่ายเฟซบุ๊กไลฟ์ของผู้บริโภค พบว่า ส่วนใหญ่ให้ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดในภาพรวม โดยให้ความสำคัญในด้านผลิตภัณฑ์มากที่สุด รองลงมา คือ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย และส่วนด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ตามลาดับ (4) ปัจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยีและปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดมีความสัมพันธ์มากกับการซื้อทองรูปพรรณผ่านเครือข่ายเฟซบุ๊คไลฟ์ของผู้บริโภค และ (5) ข้อเสนอแนะ อันดับแรก คือ ร้านค้าทองคาควรมีโปรโมชั่นสาหรับการซื้อผ่านออนไลน์มากกว่านี้ รองลงมาคือ ร้านค้าทองคำควรใช้กล้องหรือมือถือที่มีคุณภาพดีเพื่อให้ภาพที่ได้รับชมที่คมชัด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | ทอง--การจัดซื้อ | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการซื้อทองรูปพรรณผ่านเครือข่ายเฟซบุ๊กไลฟ์ของผู้บริโภค | th_TH |
dc.title.alternative | Factors relating buying gold ornament of customer via Facebook Live | en_US |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to study (1) the characteristics of buying gold ornament via Facebook Live of customers; (2) the significant level of technology acceptance of Facebook live for buying gold ornament of customers; (3) the significant level of marketing mix for buying gold ornament via Facebook Live of customers; (4) the technology acceptance and marketing mix factors related to the buying of gold ornament via Facebook Live of customer; and (5) the problems and suggestions of buying gold ornament via Facebook Live of customers. The population of this quantitative research consisted of Thai people in Bang Phli District. Samut Prakan Province, aged 15 years and over who used to buy gold ornament via Facebook Live but the exact number of population was unknown. The sample size of 400 was calculated by using Taro Yamane’s formula with a non-probability by using a convenience sampling. An instrument used for data collection was a questionnaire and the data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation and Chi-square. The result of this study revealed that most customers were female, aged between 26-33 years old, education level of high vocational and vocational certificate, with the average monthly income between 15,000-30,000 baht. According to the objective the result showed that: (1) most of the sample customers bought gold ornament for themselves, most type of gold ornament was necklaces; (2) the significant level of technology acceptance of Facebook Live for buying gold ornament was perceived as ease of use and as perceived benefit at the highest level; (3) the significant level of marketing mix factor was at the highest level; (4) Technology acceptance factor and marketing mix factor were greatly correlated with consumers’ buying gold ornament via Facebook Live; and (5). the suggestions showed that the gold ornament sellers should have promotion and use a good quality camera or mobile phone for sharp and clear images. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_166450.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License