Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/707
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี ล้ำสกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกาญจนา ใจกว้าง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorขนิษฐา ภมรพิพิธ, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T02:34:10Z-
dc.date.available2022-08-18T02:34:10Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/707-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การใช้อินเทอร์เน็ตในงานคัดเลือกและ จัดหาทรัพยากรสารสนเทศและ (2) ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวกับการใช้อินเทอร์เน็ต ในงานคัดเลือกและจัดหาทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑลประชากรการวิจัย ประกอบด้วย 3 กลุ่ม คือ (1) ผู้บริหารห้องสมุดระดับสูง 30 คน (2) ผู้บริหารห้องสมุดระดับกลาง/ ต้น 36 คน และ (3) ผู้ปฏิบัติงานคัดเลือกและจัดหาทรัพยากร สารสนเทศ 65 คน รวมทั้งสิ้น 131 คน สังกัดห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพ- มหานครและปริมณฑล 30 แห่ง การวิจัยเชิงสำรวจนี้ใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยที่สำคัญพบว่า (1) ผู้บริหารห้องสมุดส่วนใหญ่เน้นความสำคัญของอินเทอร์เน็ต ในงานคัดเลือกและจัดหาทรัพยากรสารสนเทศและให้การสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรในการใช้ อินเทอร์เน็ตในการทำงาน การให้ความรู้ด้านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และจัดให้มีบุคลากร/ หน่วยงานของห้องสมุดดูแลรับผิดชอบการใช้อินเทอร์เน็ตและคอมพิวเตอร์ในการทำงาน (2) ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่เป็นบรรณารักษ์ บริการสื่อสารบนอินเทอร์เน็ตที่บรรณารักษ์ส่วนใหญ่ใช้ใน งานสั่งซื้อและบอกรับ คือ ใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ในการติดต่อผู้ใช้/แหล่งจำหน่าย และสั่งซื้อ/ บอกรับทรัพยากรสารสนเทศผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และใช้ในงานแลกเปลี่ยน/ขอรับ บริจาคเพึ่อรับทราบความต้องการ ส่วนบริการค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต บรรณารักษ์ส่วนใหญ่ใช้ใน การสืบค้นแหล่ง/ขัอมูลเพื่อการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ (3) ผู้บริหารห้องสมุดและผู้ปฎิบัติงาน มีความคิดเห็นตรงกันในด้านปัญหาอุปสรรคเกี่ยวกับการใช้อินเทอร์เน็ต คือ การไม่สามารถชำระเงิน ผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้เพราะขัดต่อระเบียบการเบิกจ่ายเงินของหน่วยงานต้นสังกัดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการจัดหาทรัพยากรห้องสมุด--การใช้เครื่องจักรกลth_TH
dc.subjectห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาth_TH
dc.titleการใช้อินเทอร์เน็ตในงานคัดเลือกและจัดหาทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลth_TH
dc.title.alternativeThe use of the internet in information resources selection and acquisition of Private Higher Education Institution Libraries in Bangkok and Suburbsth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study (1) the use of the Internet in information resources selection and acquisition; and (2) the problems, obstacles and recommendations of the use of the Internet in information resources selection and acquisition of Private Higher Education Institutions Libraries in Bangkok and Suburbs. The population consisted of 131 staff members from 30 private higher education institution libraries in Bangkok and the suburbs. They could be separated into three groups as: 30 chief executives, 36 middle and lower rank administrators and 65 information resources selection and acquisition practitioners. This survey research adopted questionnaires as a tool for data collection. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, means and standard deviation. Key findings were as follows: (1) Most library administrators understood the importance of the Internet in information resources selection and acquisition, and supported the staff development in applying the Internet in their work, spreading knowledge about electronic commerce to the staff, and assigning library practitioners or offices to take responsibility on the use of the Internet and computer in their work. (2) Most library practitioners were librarians. The communication service on the Internet which most librarians used was purchasing and subscribing. They used an electronic mail to contact their users/vendors in order to purchase or subscribe to information resources via electronic commerce. They also used electronic mails to obtain information needed in information resources exchange/donation. As for searching on the Internet, most librarians used the Internet to search for the resources/information for information resources selection. (3) The library administrators agreed with the library practitioners on the problems and obstacles in using the Internet; i.e., they could not make payment for the information resources via the electronic commerce because of the university finance regulationsen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (1).pdfเอกสารฉบับเต็ม2.5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons