กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/709
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorพยุง ซีดาร์-
dc.date.accessioned2022-08-18T02:42:27Z-
dc.date.available2022-08-18T02:42:27Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 10, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2560), หน้า 16-33th_TH
dc.identifier.issn1905-4653-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/709-
dc.description.abstractปัญหาในการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศในห้องเรียนขนาดใหญ่เป็นความท้าทายมาเป็นเวลาหลายปี ปัญหามักเกี่ยวข้องกับการมีปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียนแบบจำกัดความใส่ใจของผู้เรียนไม่เพียงพอและวินัยในการเรียนรู้ด้วยตนเองไม่มีประสิทธิผล ที่จริงแล้วการจัดชั้นเรียนแบบดั้งเดิมไม่สามารถรองรับความต้องการในการฝึกฝนภาษาและพัฒนาทักษะการสื่อสารของผู้เรียนได้ด้วยความท้าทายดังกล่าว งานวิจัยนี้จึงศึกษาใช้วิธีการเรียนรู้แบบผสมผสานในรายวิชาภาษาอังกฤษระดับปริญญาตรี โดยการรวมวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย ผลจากการทดสอบก่อนและหลังเรียนแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการสำรวจความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการการเรียนการสอนก็สนับสนุนวิธีการเรียนรู้แบบผสมผสานth_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.subjectการเรียนรู้แบบผสมผสานth_TH
dc.titleBlended Learning and EFL Course Management at a Thai Universityen_US
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeDifficulty of teaching English as a Foreign Language in large-size classes has been a challenge for many years. It is often associated with limited classroom interaction, insufficient student concentration, and ineffectual autonomous learning disciplines. In essence, traditional classroom settings fail to serve students’ need for language practice and communicative-skill development. Due to the challenge, this study employed blended learning in an English undergraduate course by mingling multi-learning methods. The pretest-posttest results showed a statistical difference in students’ learning achievements. The results from a survey of students’ opinions towards class administration also supported the blended learning approachen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Journal Articles

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
44332.pdfเอกสารฉบับเต็ม456.16 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons