Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7117
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัตth_TH
dc.contributor.authorรังสรรค์ ทองดี, 2511-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-03T07:07:03Z-
dc.date.available2023-07-03T07:07:03Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7117en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรกรมสรรพสามิตในส่วนกลาง (2) เปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรกรมสรรพสามิต ในส่วนกลาง จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรกรมสรรพสามิตในส่วนกลาง (4) เสนอแนะแนวทางเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรกรมสรรพสามิตในส่วนกลาง ประชากร ได้แก่ บุคลากรของกรมสรรพสามิตในส่วนกลาง จำนวน 1,287 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 309 คน คำนวณจากสูตรของทาโร่ยามาเน่ กำหนดขนาดตัวอย่างแบบสัดส่วน และสุ่มตัวอย่าง แบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามซึ่งใช้กับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 304 คน และแบบสัมภาษณ์ซึ่งใช้กับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 5 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า (1) ในภาพรวม บุคลากรกรมสรรพสามิตในส่วนกลาง มีระดับ แรงจูงใจใน การปฏิบัติงานในระดับมากที่สุด โดยด้านความพยายามในการทำงาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และด้านการมีเป้าหมายในการทำงาน มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (2) เมื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานฯ จำแนกตามปัจจัย ส่วนบุคคล พบว่า ผู้ที่มีอายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อัตราเงินเดือน ระยะเวลาการปฏิบัติงานและตำแหน่งหน้าที่งานแตกต่างกัน มีแรงจูงในในการปฏิบัติงานแตกต่างกัน นอกนั้นไม่แตกต่าง (3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร ได้แก่ปัจจัย ด้านกลยุทธ์องค์การ แบบการบริหาร ระบบ และโครงสร้างองค์การ โดยตัวแปรทั้ง 4 สามารถพยากรณ์แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรกรมสรรพสามิตในส่วนกลางได้ร้อยละ 46.30 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 (4) ข้อเสนอแนะสำคัญได้แก่ ควรสร้างความเข้าใจแก่บุคลากรในการนำแผนกลยุทธ์มาใช้ให้มากขึ้น เปิดโอกาสให้บุคลากรเข้ามีส่วนร่วมในการบริหาร ติดตั้งระบบสารสนเทศที่ทันสมัย สนับสนุนการทำงาน และกระจายอำนาจการตัดสินใจแก่ผู้ปฎิบัติงานอย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.188en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมสรรพสามิตth_TH
dc.subjectการจูงใจ (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรกรมสรรพสามิตในส่วนกลางth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting work motivation of Excise Department Officials in Central Officesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.188-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.188en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to (1) investigate the levels of work motivation of Excise Department officials in Central Offices (2) compare the levels of work motivation of Excise Department officials in Central Offices classified by personal factors, (3) study factors affecting work motivation of Excise Department officials in Central Offices and (4) recommend the appropriate guideline to enhance work motivation of Excise Department officials in Central Offices. Population consisted of 1,287 officials of Excise Department in Central Offices. Samples of 309 officials were obtained via Taro Yamane calculation. Proportional and accidental random sampling methods were applied. Instruments used were questionnaire for 304 samples and in-depth interview for 5 samples. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, and multiple regression. Research result revealed that (1) in the overall view, work motivation of Excise Department officials in Central Offices was in highest level with the highest mean on work effort, and the lowest mean on goals in work (2) when compared work motivation by personal factors, differences were found among motivation of those with different ages, marital status, education levels, salary levels, work duration, and job positions (3) factors affecting work motivation were strategy, style, system and structure, all of which could predict work motivation of the officials at 46.30 percent with 0.05 level of statistical significance (4) major recommendations were; officials should be provided with more understanding on organizational strategy, they should have more participation opportunities in the administration, modern information technology should be installed to support the operation, and the officials should be empowered appropriately in accordance with their job responsibilities.en_US
dc.contributor.coadvisorราณี อิสิชัยกุลth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
147164.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons