Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7128
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิริชัย พงษ์วิชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอิทธิพงศ์ กิจค้า, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-03T07:52:22Z-
dc.date.available2023-07-03T07:52:22Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7128-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์รังนกของผู้บริโภค ในประเทศไทย (2) สิ่งกระตุ้นทางการตลาดของผลิตภัณฑ์รังนกตามความคิดเห็นของผู้บริโภค (3) ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งกระตุ้นทางการตลาดกับพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค และ (4) ความสัมพนันธ์ ระหว่างลักษณะส่วนบุคคลของผู้บริโภคกับพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค ประชากร คือ ผู้บริโภคที่ซื้อผลิตภัณฑ์รังนกในประเทศไทยซึ่งไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 ราย ใช้วิธีเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบไค-สแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศ หญิง อายุ 26-35 ปี ประกอบ อาชีพ ลูกจ้างทั่วไป/พนักงาน/งานส่วนตัว มีระดับการศึกษาปริญญาตรี รายได้เฉลี่ย 10,000 – 20,000 บาท ต่อเดือน มีพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์รังนกคือ ผู้บริโภคส่วนใหญ่ซื้อผลิตภัณฑ์รังนกยี่ห้อสก็อตรัง นกแท้ สถานที่ที่ซื้อบ่อยที่สุดคือร้านค้า สะดวกซื้อโดยโอกาสในการซื้อมากที่สุดคือซื้อไปเป็นของฝาก/ ของขวัญในช่วงเวลาตั้ง แต่ 1200 – 1800 น. มีค่าใช้จ่ายในการซื้อ 500 – 1,000 บาท มีความถี่ในการซื้อ 1 – 2 ครั้งต่อเดือน และตัดสินใจซื้อด้วยตนเอง (2) ระดับสิ่งกระตุน้ ทางการตลาดของผลิตภัณฑ์รังนกตาม ความคิดเห็นของผู้บริโภคในประเทศไทย โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ใน ระดับมาก 2 ด้าน โดยเรียงตามลำดับ คือ ด้านการจัดจำหน่าย รองลงมาคือ ด้านผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับ ปานกลาง 2 ด้านโดยเรียงตามลำดับ คือ ด้านราคา รองลงมาคือด้านส่งเสริมการตลาด (3) ผลการทดสอบ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งกระตุ้น ทางการตลาดกับ พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในประเทศไทยพบว่า ทุกด้านมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมของผู้บริโภคผลิตภัณฑ์รังนกในประเทศไทย (4) ผลการทดสอบ ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะส่วนบุคคลของผู้บริโภคกับพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์รังนกของผู้บริโภค ในประเทศไทย พบว่า เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา และรายได้มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อ ผลิตภัณฑ์รังนกของผู้บริโภคในประเทศไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.185en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค -- ไทยth_TH
dc.titleพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์รังนกของผู้บริโภคในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativePurchasing behavior of cunsumers on Swiftlet Nest's products in Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study (1) purchasing behavior of consumers on swiftlet nest’s products in Thailand; (2) the marketing stimulis affecting swiftlet nest’s products from customers’ opinions; (3) the correlation between the marketing stimulis and the purchasing behavior of consumers on swiftlet nest’s products in Thailand; and (4) the correlation between the personal characteristics and the purchasing behavior of consumers on swiftlet nest’s products in Thailand. The infinite population was consumers purchasing the swiftlet nest’s products in Thailand. The 400 samples were selected through multi-stage sampling method. A questionnaire was used as a tool to collect data. Statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and chi-square. The results showed that (1) the majority of respondents were female, and 26 – 35 years old. They were working as employees or officers and most respondents graduated from bachelor degree with the average monthly income range between 10,000 – 20,000 baht. Regarding the purchasing behavior of consumers on swiftlet nest’s products in Thailand, most respondents purchased Scotch swiftlet’s nest products in the convenient store. The main reason of purchasing was gift and/or presents. A purchasing period was 12.00 – 18.00 p.m. with the average costing range 0f 500 – 1,000 baht. The purchasing frequency was about 1 – 2 times per month. They decided to purchase by themselves. (2) Regarding to the marketing stimulis affecting purchasing behavior of consumers on swiftlet nest’s products in Thailand, the overall marketing stimuli was at a high level. Place and product were at a high level while price and promotion were at a middle level. (3) The correlation between the marketing stimulis and purchasing behavior of consumers on swiftlet nest’s products in Thailand was found. (4) The correlation test between personal characteristics and purchasing behavior of consumers on swiftlet nest’s products found that sex, age, occupation, education level and average income were correlated to purchasing behavior of consumers on swiftlet nest’s products at the statistics significance level of 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
147173.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons