Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7132
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ลัดดา วัจนะสาริกากุล | th_TH |
dc.contributor.author | ภัทราภรณ์ สุขโสภี, 2531- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-03T08:05:15Z | - |
dc.date.available | 2023-07-03T08:05:15Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7132 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการรับรู้คุณค่าตราสินค้าของผู้บริโภคต่อโทรศัพท์เคลื่อนที่สมาร์ทโฟนระหว่างตราสินค้าซัมซุงและแอปเปิ้ล (2) เปรียบเทียบการรับรู้คุณค่าตราสินค้าของผู้บริโภคต่อโทรศัพท์เคลื่อนที่สมาร์ทโฟนระหว่างตราสินค้าซัมซุงและแอปเปิ้ลจำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล (3) ศึกษาปัจจัยทางการตลาดของโทรศัพท์เคลื่อนที่สมาร์ทโฟนตามการรับรู้ของผู้บริโภค การวิจัยในครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 5,386,679 คน สุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คนโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจงใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล สถานที่เก็บข้อมูลคือห้างสรรพสินค้าบริเวณศูนย์บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่เครือข่ายต่างๆ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สถิติอนุมานในการทดสอบค่าทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่า (1) การศึกษาการรับรู้คุณค่าตราสินค้าโทรศัพท์เคลื่อนที่สมาร์ทโฟนของสองตราสินค้าระหว่างซัมซุงและแอปเปิ้ล แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (2) ผู้บริโภคที่มี อายุ รายได้ และอาชีพที่แตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้ตราสินค้าที่แตกต่างกัน และเมื่อเปรียบเทียบโดยรวมพบว่ามีการรับรู้คุณค่าตราสินค้าของแอปเปิ้ลมากกว่าซัมซุง แต่การรับรู้ตราสินค้าของซัมซุงผ่านการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการมีมากกว่าตราสินค้าของแอปเปิ้ล (3) ผลการศึกษาด้านปัจจัยทางการตลาดพบว่า สิ่งเร้าที่เกิดจากส่วนประสมการตลาดอยู่ในระดับมาก สิ่งเร้าจากสภาพแวดล้อมภายนอกอื่นๆอยู่ในระดับมาก ยกเว้นสถานการณ์ทางการเมือง ส่วนการรับรู้ด้านความรู้สึกนึกคิดอยู่ในระดับปานกลาง และการตอบสนองของผู้บริ โภคต่อโทรศัพท์เคลื่อนที่สมาร์ทโฟนอยู่ในระดับมาก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.187 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ชื่อตราผลิตภัณฑ์--การตลาด | th_TH |
dc.subject | สมาร์ทโฟน | th_TH |
dc.title | การศึกษาการรับรู้คุณค่าตราสินค้าของผู้บริโภคและปัจจัยทางการตลาดของโทรศัพท์เคลื่อนที่สมาร์ทโฟน | th_TH |
dc.title.alternative | Study of consumer's percepion to brand equity and marketing factors on Smart phone | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2014.187 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.187 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were : (1) to study perception of brand equity of smart phone between Samsung and Apple of consumer, (2) to compare brand equity of smart phone between Samsung and Apple by personal information. (3) to study marketing factors of smart phone by consumer’s perception. As a matter of perception and understanding, it musts first be noted that approximately 5, 3 8 6, 6 7 9 people use mobile phones in Bangkok and the actual number of people taken into account was 400 working people. The questionnaires were used to collect data at shopping malls in Bangkok. The statistics of this study were descriptive statistics: percentage, mean, standard deviation, and inferential statistics: t-test, and One-way ANOVA. The results showed that (1) the consumer’s perception to brand equity of smart phone between two brands; Samsung and Apple were different at 0.05 statistical levels by inferential statistics. (2) The consumers’ perception through age, income, and occupation were different. The total comparison of brand equity showed that the perception of Apple brand was more than Samsung brand. The perception of Samsung brand through integrated marketing communication was more than Apple brand. (3) Aside from political crisis, the perception through marketing factors showed that the various marketing strategies and the other external factors were at a high level. The perception of brand equity from the consumer’s consciousness was at an average level, and the consumer’s response on the smart phone was at a high level. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | อมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
147178.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License