Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/714
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมเกียรติ วัฒนาพงษากุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorประพนธ์ เรืองณรงค์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเลขา สุวรรณชาตรี, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T02:59:57Z-
dc.date.available2022-08-18T02:59:57Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/714-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษา (1) ภูมิหลังของบ้านท่าคุระ ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา (2) ประเพณีตายายย่านของชาวบ้านท่าคุระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา (3) พิธีกรรมเกี่ยวกับประเพณีตายายย่านของชาวบ้านท่าคุระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพประกอบด้วยการสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง ร่วมกับการสังเกตแบบมีส่วนร่วมในการเก็บข้อมูล ผลการวิจัยสรุปได้ว่า (1) บ้านท่าคุระเป็นหมู่บ้านหนี่งของตำบลคลองรี อำเภอ สทิงพระ จังหวัดสงขลา เดิมชื่อบ้านท่าทอง สันนิษฐานจากหลักฐานและการค้นคว้าข้อมูล พบว่า บ้านท่าคุระ มีบุคคลสำคัญในชุมชนเริ่มแรก คือ ตาพรหม และยายจัน ชาวบ้านแพรจันทร์ อำเภอ สทิงพระ จังหวัดสงขลา (2) ประเพณีตายายย่านของชาวบ้านท่าคุระ อำเภอสทิงพระ จังหวัด สงขลา กำหนดจัดขึ้นในวันพุธ แรม 1 ค่ำเดือน 6 หากปืใดวันแรม 1 ค่ำไม่ตรงกับวันพุธให้เลื่อน ออกไปเป็นวันพุธแรกข้างแรมของเดือน 6 ประเพณีดังกล่าวเป็นประเพณีของชุมชนที่สืบทอดกัน มาหลายร้อยปีเกิดจากความศรัทธาต่อพระพุทธรูปเจ้าแม่อยู่หัวซึ่งหมายถึงพระพุทธรูปทองคำ ปางมารวิชัย หน้าตักกว้างประมาณ 2 เซนติเมตร สูงประมาณ 2.5 เซนติเมตร ที่ประดิษฐานอยู่ ในมณฑปวัดท่าคุระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา (3) พิธีกรรมเกี่ยวกับประเพณีตายายย่านของ ชาวบ้านท่าคุระ ที่ปฎิบัติสืบต่อกันมาจนถึงทุกวันนี้ ได้แก่ พิธีสรงน้ำเจ้าแม่อยู่หัว พิธีสมโภช เจ้าแม่อยู่หัว พิธีแก้บน และพิธีการรำโนราโรงครู ซึ่งการปฏิบัติพิธีกรรมเกี่ยวกับประเพณี ตายายย่านของชาวบ้านท่าคุระยังคงรูปแบบเดิม เพราะเป็นพิธีกรรมที่เกิดจากความเชื่อของคน ในท้องถิ่นที่มีต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไรก็ตาม พิธีกรรมดังกล่าวมีการเปลี่ยนแปลงในรายละเอียดบ้าง เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพสังคมในบัจจุบันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectประเพณีตายายย่านth_TH
dc.subjectสงขลา--ความเป็นอยู่และประเพณีth_TH
dc.titleประเพณีตายายย่านของชาวบ้านท่าคุระ อำเภอทิงพระ จังหวัดสงขลาth_TH
dc.title.alternativeTayaiyan custom of Thakhura Villagers, Sathing Phra District, Songkhla Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study (1) the background, (2) the custom 5 and (3) the rites of Tayaiyan custom of Thakura Villagers in the Sathingpra District of Songkhla Province. Qualitative method, unstructured interviews and participant observation were used in this research. The results of this research showed that (1) Thakhura Village, used to be called Thathong Village in the past, is one of Khlongree’s villages in the Sathingpra District of Songkhla Province. The first two people who lived in the village were Ta (grandfather) Pram and Yai (grandmother) Chan, from Phraechan Village in the Sathingpra District of Songkhla Province. (2) Tayaiyan custom of the Thakhura Villagers was held on Wednesday, the first day of the waning moon in the 6lh month. In years that the first day of the waning moon in the 6,h month is not on Wednesday, the custom will be postponed to the first Wednesday, the fourteenth of the waning moon in the 6th month. This custom has been participated by the local community for over 100 years and it is originated by the faith in the Buddha statue of Chao Mae Yu Hua, which is the golden Buddha statue in Mara Vichai posture, approximately 2 cms. wide, and 2.5 cms. tall located in Mondop of Thakhura Temple. And (3) the rites of Tayaiyan custom of the Thakhura villagers which have been continued to the present were sprinkling waler over and celebrating the Buddha statue of Chao Mae Yu Hua, making a votive offerings ceremony and the rites of Nora Rongkhru’s dancing. Thakhura villagers still performed the rites about Tayaiyan custom in the same way as in the past because these rites brightened from the locals’ faith to the sacred objects. However, some details of the rites were adapted to correspond with the present societyen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (2).pdfเอกสารฉบับเต็ม8.3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons