Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7151
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดุสิต เวชกิจth_TH
dc.contributor.authorธนิญริญญ์ สิริปุณณาธิรัชต์, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-03T08:54:24Z-
dc.date.available2023-07-03T08:54:24Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7151en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความสำเร็จของการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป ปฏิบัติของประชาชนในจังหวัดระนอง (2) เปรียบเทียบความสำเร็จของการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติใน จังหวัดระนอง จำแนกตามอำเภอ (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติในจังหวัดระนอง และ (4) เสนอแนะแนวทางการดำเนินการเพื่อให้สามารถนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติให้เกิดผลสำเร็จมากยิ่งขึ้น การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจผสมผสานกับการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ประชากรคือประชาชนจาก 5อำเภอในจังหวัดระนอง จำนวน 86,838 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 398 คน ได้จากการคำนวณโดยใช้สูตรของทาโรยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 และใช้การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิในการคัดเลือกตัวแทน สำหรับผู้ให้ข้อมูลสำคัญโดยการ สัมภาษณ์เป็นนายอำเภอหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณแบ่งเป็น 2 วิธี ได้แก่ (1) การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนาใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ (2) การวิเคราะห์สถิติอนุมาน นำมาใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ใช้การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ การวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้เทคนิคสวอท เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลแบบอุปนัยในการหาข้อสรุปร่วมเพื่อการเสนอแนะ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความสำเร็จของการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติของประชาชนในจังหวัดระนองอยู่ในระดับมาก (2) ระดับความสำเร็จของการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติของแต่ละอำเภอในจังหวัดระนอง แตกต่างกัน (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติในจังหวัด ระนอง ได้แก่ 1) องค์ประกอบของปัจจัยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่ประกอบไปด้วยความพอประมาณ ความมีเหตุผลและเงื่อนไขความรู้ 2) ปัจจัยการนำนโยบายเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติ และ3) ปัจจัยแรงจูงใจของการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติ โดยทั้งหมดมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (4) แนวทางการดำเนินการเพื่อให้สามารถนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติให้เกิดผลสำเร็จมากยิ่งขึ้น ได้สังเคราะห์มาจากแบบสัมภาษณ์โดยผ่านเทคนิค สวอท และ การทำตารางทาวส์ แมททริกซ์ออกมาเป็นกลยุทธ์ในการดำเนินการ ข้อเสนอแนะที่สำคัญ คือ ภาครัฐควรขับเคลื่อนหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยการสร้างวัฒนธรรมแห่งภูมิปัญญาวิถีชีวิตดั้งเดิม โดยอาศัยทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ของจังหวัดระนอง เป็นฐาน โดยการจัดทาโครงการธรรมชาติบำบัดชีวิตภายใต้เศรษฐกิจพอเพียงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.179en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียงth_TH
dc.subjectเกษตรกรรมแบบผสมผสานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติในจังหวัดระนองth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the successful adoption of the sufficiency economy philosophy in Ranong Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.179-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.179en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to (1) study level of successful adoption of the Sufficiency Economy Philosophy in Ranong Province, (2) compare thesuccessful adoption of the Sufficiency Economy Philosophy of Ranong Province by districts, (3) study factors affecting the successful adoption of the Sufficiency Economy Philosophy in Ranong Province and (4) the recommended for Sufficiency Economy Philosophy into practice to achieve more success. This research was a survey research and collect qualitative information. Population consist of 5 districts of Ranong Province of 86,838 peoples and sample groups 398 peoples from the calculation using a formula of Taro Yamane at confidence level of 95 percent and a stratified random sampling to select agents and key informants interviewed by a sheriff or sheriff who has been the definition of 5 districts. The research instruments were questionnaire and in-depth interview. Quantitative analysis was categorized into 2 methods (1) descriptive statistics applying frequency distribution, percentage, mean, standard deviation (2) inferential statistics applied for hypothesis testing by applying one-simple t-test and F-test via Multiple Regression Analysis while qualitative analysis was done by applying SWOT techniques to analyze data in inductive inferences to share feedback. The results revealed that (1) the level of successful adoption of the Sufficiency Economy Philosophy in Ranong Province had the high level 2) the successful adoption of the Sufficiency Economy Philosophy by districts of Ranong Province was different (3) factors affecting of successful adoption of the Sufficiency Economy Philosophy in Ranong Province were 1) components of sufficiency economy philosophy factor which consists of modesty, rationality, and knowledge condition 2) policy regarding adoption factor of the sufficiency economy philosophy and 3) motivation of adoption factor of the sufficiency economy philosophy, which all factors had the significance at the .05 level. (4) the recommended into practice for Sufficiency Economy Philosophy to achieve more success, synthesis via SWOT Technical and TOWS Matrax, was the government should primarily driven philosophy by creating a culture of wisdom traditions by virtue of its rich natural resource base of Ranong the projects under the Economic Homeopathy life.en_US
dc.contributor.coadvisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์th_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
147660.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons