Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7186
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจินดารัตน์ เปี่ยมพิบูลย์, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-04T03:02:55Z-
dc.date.available2023-07-04T03:02:55Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7186-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของรางวัล คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2) พัฒนา ตัวแบบรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ระดับ ผู้บริหารสานักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จำนวน 7 คน ระดับผู้ปฏิบัติงานสำนักงาน สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จำนวน 7 คน และผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ วิทยากร และผู้ปฏิบัติงานด้านรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ จำนวน 7 คน รวมทั้งสิ้น 21 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิธีการเก็บรวบรวม ข้อมูล ได้แก่ ศึกษาจากเอกสารและสัมภาษณ์ และการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพปัจจุบันด้านรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของ สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประกอบด้วย 1) ขาดความรู้ความเข้าใจ 2) ขาดนโยบาย ที่ชัดเจน 3) ขาดการสื่อสารที่ดี 4) ขาดสิ่งกระตุ้นจูงใจ 5) ขาดการติดตามประเมินผล และ 6) ขาดระบบ เทคโนโลยีที่ทันสมัย และสภาพที่พึงประสงค์ด้านรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงาน สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ องค์กรต้องมีนโยบายและการสื่อสารที่ชัดเจนให้กับผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีการติดตามผลอย่างต่อเนื่อง มีสิ่งกระตุ้นจูงใจ และมีเทคโนโลยีที่ทันสมัย (2) พัฒนาตัวแบบรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ พิจารณาได้ 3 ตัวแบบ ประกอบด้วย 1) ตัวแบบกระบวนการมี 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 สร้างองค์ความรู้ ขั้นตอนที่ 2 ถ่ายทอดความรู้ ขั้นตอนที่ 3 เข้าถึงข้อมูล ขั้นตอนที่ 4 แบ่งปันและแสวงหา ความรู้ และขั้นตอนที่ 5 ติดตามประเมินผล 2) ตัวแบบกลยุทธ์มี 6 กลยุทธ์ ได้แก่ กลยุทธ์สร้างความรู้ความ เข้าใจ กลยุทธ์จัดทาแผนปฏิบัติงาน กลยุทธ์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กลยุทธ์วิเคราะห์สภาพแวดล้อมองค์การ กลยุทธ์ประชาสัมพันธ์และการใช้เทคโนโลยี และกลยุทธ์ทำงานเป็นทีม 3) ตัวแบบปัจจัยแห่งความสำเร็จ มี 5 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านภาวะผู้นำปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์กร ปัจจัยด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ปัจจัยด้านการสื่อสาร และปัจจัยด้านการสร้างแรงจูงใจth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.181en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติth_TH
dc.subjectรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐth_TH
dc.subjectการบริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleตัวแบบรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติth_TH
dc.title.alternativePublic sector management quality award model of the Office of National Economic and Social Advisory Councilth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were : (1) to study current conditions and desirable conditions on Public Sector Management Quality Award problem issues of the Office of National Economic and Social Advisory Council (2) to develop Public Sector Management Quality Award model of the Office of National Economic and Social Advisory Council. This research was a qualitative research. Samples used in this research were 7 executives, 7 operational officials working for the Office of National Economic, 7 external experts comprised of specialists, academicians, speakers and facilitators and staff responsible for Public Sector Management Quality Award The total number of samples was 21. Research instruments were interview questionnaires. Data collection methods were documentary research and interview. Data analysis was content analysis. The research results show that (1) current conditions on Public Sector Management Quality Award of the Office of National Economic and Social Advisory Council included of the limitations of 1) knowledge and understanding 2) clear policy 3) good communication 4) work motivation and stimulant 5) efficient evaluation and 6) modern technological systems and desirable conditions on Public Sector Management Quality Award of the Office of National Economic and Social Advisory Council. The organization must have clear policy and appropriate communication with the officials in order to reinforce knowledge and understanding, continuous evaluation, create motivation, stimulants and provide modern technological systems. (2) Public Sector Management Quality Award model of the Office of National Economic and Social Advisory Council could be considered into 3 parts : 1) process model consisted of 5 step : step 1 create body of knowledge, step 2 share knowledge step 3 access to the data step 4 share and seek knowledge and step 5 monitoring and evaluation. 2) strategy model consisted 6 tactics : tactics 1 build knowledge and understand strategies, tactics 2 formulate operational plan, tactic 3 exchange knowledge, tactic 4 analyze organization environment, tactic 5 perform public relations and use technology and tactic 6 team building 3) success factors consisted of 5 factors : leadership, organization culture, information technology, communication and motivation.en_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148984.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons