Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7196
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร | th_TH |
dc.contributor.author | จิราพร สุขถนอม, 2532- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-04T03:24:13Z | - |
dc.date.available | 2023-07-04T03:24:13Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7196 | en_US |
dc.description.abstract | การค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการ KTB Netbank จังหวัดสมุทรปราการ (2) ระดับการยอมรับเทคโนโลยีของผู้ใช้บริการ KTB Netbank จังหวัดสมุทรปราการ (3) ระดับความพึงพอใจที่มีต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดของผู้ใช้บริการ KTB Netbank จังหวัดสมุทรปราการ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ โดยประชากรคือผู้มาใช้บริการธนาคารกรุงไทย สาขาสมุทรปราการ ที่ไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้ความเชื่อมั่นร้อยละ 95 สุ่มตัวอย่างตามสะดวก จำนวน 400 รายและ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21-30 ปี ต้องการความสะดวกสบายในการดำเนินชีวิตจึงเลือกทำธุรกรรมทางการเงินผ่านช่องทางโทรศัพท์มือถือ Smart Phone หรือ Tablet และในอนาคตมีแนวโน้มที่จะใช้บริการมากขึ้น (2) กลุ่มตัวอย่างมีระดับการยอมรับเทคโนโลยีในภาพรวมอยู่ ในระดับมาก โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ การรับรู้ถึงประโยชน์ ความตั้งใจที่จะใช้งาน ทัศนคติที่มีต่อการใช้งาน และความง่ายในการใช้งาน (3) กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านราคาค่าบริการ ด้านกระบวนการบริการ ด้านสภาพแวดล้อม การบริการ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านพนักงาน ด้านการส่งเสริมการตลาด และด้านการจัดจำหน่าย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ธนาคารทางอินเทอร์เน็ต--ความพอใจของผู้ใช้บริการ | th_TH |
dc.subject | ความพอใจ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การตลาด | th_TH |
dc.title | ความพึงพอใจที่มีต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดของผู้ใช้บริการ KTB Netbank จังหวัดสมุทรปราการ | th_TH |
dc.title.alternative | Satisfaction on marketing mix factors of KTB Netbank users in Samut Prakan Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) the personal information of KTB Netbank User in Samut Prakarn province; (2) level of technology acceptance KTB Netbank users in Samut Prakarn province; and (3) level of satisfaction level of marketing mix factors toward of KTB Netbank users in Samut Prakarn province. The study was a purposive survey research. The research population was users or customers of KTB Samut Prakarn branch. Sampling was indicated by 95% trust which consisted of sample random sampling and convenience random sampling. The samples were 400, questionnaires were instrument to collect data. Statistical Analysis was frequency, percentage, mean and standard deviation. Research findings were as follows: (1) most of respondents were female, aged 21-30 years old, comfortable utilizing internet banking technology in lifestyle So choose to make financial transactions through mobile phone Smart Phone or Tablet channels And in the future more likely to use the service; (2) most of respondents have high level of technology acceptant, sorting from high to low, accepting the advantage in perceived usefulness, behavioral intention of use , attitude towards using and perceived ease of use technology; and (3) the significant level of marketing mix factors satisfaction sorting from high to low were: price, process, physical evidence, product, employee, promotion and place. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_153819.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License