กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/719
ชื่อเรื่อง: รูปแบบจำลององค์การบริหารส่วนตำบลเยาวชนที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดบุรีรัมย์
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Model of youth tambon administration organization in influencing political participation towards democracy in Buriram province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษา
ฐปนรรต พรหมอินทร์, อาจารย์ที่ปรึกษา
ปรีชา หงษ์ไกรเลิศ, อาจารย์ที่ปรึกษา
วิลาศ โลหิตกุล, 2493-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --วิทยานิพนธ์
องค์การบริหารส่วนตำบล--ไทย--บุรีรัมย์--กิจกรรมทางการเมือง.
การมีส่วนร่วมทางการเมือง
วันที่เผยแพร่: 2547
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาวิจัยเรื่อง รูปแบบจำลององค์การบริหารส่วนตำบลเยาวชนที่มีผลต่อการมี ส่วนร่วมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดบุรีรัมย์มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ว่ารูปแบบจำลององค์การบริหารส่วนตำบลเยาวชน มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองแบบ ประชาธิปไตยของประชาชนในท้องถิ่นหรือไม่ และเพื่อเสนอแนะแนวทางการตำเนินงานองค์การ บริหารส่วนตำบลเยาวชน ในการสรัางการมีส่วนร่วมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยให้แก่ ประชาชนในท้องถิ่นไต้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด โดยในการศึกษาครั้งนี้ได้เก็บ ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างในจังหวัดบุรีรัมย์ได้แก่ ตำบลพุทไขสง ตำบลหายโศก อำเภอพุทไขสง ตำบลหนองโบสถ ตำบลสะเดา อำเภอนางรอง และตำบลโคกกลาง อำเภอลำปลายมาศ ตำบลละ 100 คน รวมทั้งสิ้น 500 คน ข้อมูลที่ไต้นำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติรัอยละ ค่าเฉลี่ย และใช้ไคสแควร์ ในการทดสอบสมมติฐานการวิจัย ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ทำการศึกษาวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานที่ ทั้งไว้ กล่าวคือรูปแบบจำลององค์การบริหารส่วนตำบลเยาวชน สามารถช่วยสร้างการมีส่วนร่วม ทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในท้องถิ่นได้และมีข้อเสนอแนะจากการวิจัยให้ ดำเนินกิจกรรมองค์การบริหารส่วนตำบลเยาวชนต่อไป โดยควรเน้นด้านการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร และการสร้างความเข้าใจให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการ พัฒนาท้องถิ่น มีการจัดตั้งศาลาประชาธิปไตยเพิ่มเติม และควรส่งเสริม สนับสนุนให้เพศหญิงมี ส่วนร่วมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยมากขึ้น อีกทั้งควรเผยแพร่ผลการศึกษาวิจัยเรื่องนี้ให้แก่ บุคคลและหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมประชาธิปไตย เพื่อผลักดันให้การจัดตั้ง องค์การบริหารส่วนตำบลเยาวชน เป็นกลยุทธหนึ่งที่ช่วยสนับสบุนนโยบายการกระจายอำนาจสู่ ท้องถิ่น
รายละเอียด: วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547
URI: http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/719
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Pol-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
83864.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.35 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons