Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7204
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสายสุนีย์ จาโรทก, 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-04T03:36:13Z-
dc.date.available2023-07-04T03:36:13Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7204-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของข้าราชการครูในจังหวัดอุทัยธานี (2) พฤติกรรมการซื้อผ้าไทยของข้าราชการครูในจังหวัดอุทัยธานี (3) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีต่อพฤติกรรมการซื้อผ้าไทยของข้าราชการครูในจังหวัดอุทัยธานี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากร คือ ข้าราชการครูในจังหวัดอุทัยธานี จำนวน 3,221 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างอย่าง่ายกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 360 คน โดยใช้สูตรทาโรยามาเน่ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 25-34 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี ระดับรายได้ต่อเดือนอยู่ระหว่าง 20,001-30,000 บาท และมีภูมิลำเนาอยู่ในจังหวัดอุทัยธานี (2) พฤติกรรมการซื้อผ้าไทยของข้าราชการครูในจังหวัดอุทัยธานีส่วนใหญ่ซื้อผ้าไทยประเภทผ้าฝ้าย ผลิตจากภาคเหนือ เป็นเสื้อผ้าสำเร็จรูป เพื่อสวมใส่ในงานประเพณีสำคัญ โดยมีเพื่อนเป็นบุคคลที่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจซื้อปีละ 1-2 ครั้ง โดยมีค่าใช้จ่ายในการซื้อครั้งละไม่เกิน 2,500 บาท ทั้งนี้เลือกซื้อจากร้านค้าที่มีสินค้าและบริการคุณภาพดีได้รับข้อมูลข่าวสารจากเพื่อนร่วมงาน (3) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดพบว่าข้าราชการครูในจังหวัดอุทัยธานีให้ความสำคัญด้านผลิตภัณฑ์ระดับมากที่สุดในเรื่องคุณภาพดีสีไม่ตก รองลงมาคือ ด้านราคาให้ความสำคัญในเรื่อง ราคาต้องสัมพันธ์กับคุณภาพของสินค้า และด้านการจัดจำหน่าย ให้ความสำคัญในเรื่องร้านค้าควรมีสินค้าจากหลากหลายชุมชนมาให้เลือกซื้อในส่วนด้านการส่งเสริมการตลาดให้ความสำคัญเรื่องการให้คำแนะนำการดูแลรักษาผ้าไทยอย่างถูกวิธีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผ้า--ไทย--อุทัยธานีth_TH
dc.subjectข้าราชการครู--การตัดสินใจth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--การตัดสินใจth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.titleพฤติกรรมการซื้อผ้าไทยของข้าราชการครูในจังหวัดอุทัยธานีth_TH
dc.title.alternativePurchasing behavior of Thai cloths of government teachers in Uthai Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study were to study (1) the personal factors of government teachers in Uthai Thani province; (2) the purchasing behavior of Thai cloth s in government teachers in Uthai Thani province; and (3) the important level of marketing mix factors toward the purchasing behavior of Thai cloths in government teachers in Uthai Thani province. The study was a survey research. The research population was 3,211 government teachers in Uthai Thani province. The sampling technique was simple random sampling. The samples were 360 which calculated by Taro Yamane method. Questionnaires were an instrument to collect data. Statistical Analysis was frequency, percentage, mean and standard deviation. The result showed that (1) most respondents were female, aged 25-34 years old, holding bachelor’s degree, monthly income of 20,001-30,000 baht, and having their hometown in Uthai Thani province; (2) most respondents purchased tailored Thai cotton cloths from northern of Thailand to wear at traditional events, friends were involved in purchasing decision making, purchased 1-2 times a year in amount of 2,500 baht each from the stores where offer good quality of product and good service; and (3) the important level of marketing mix factors were: product had good quality especially the color of cloths stayed for long period of time, price matched with quality of product, place was the stores had various collections from different weaving communities and promotion was to provide caring recommendation for Thai clothsen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_153820.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons