Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7215
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุรพร เสี้ยนสลาย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเกรียงกมล ศรีมา, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-04T04:35:46Z-
dc.date.available2023-07-04T04:35:46Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7215-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับผลสัมฤทธิ์ของการนำวิธีการทำสัญญาจ้างมาใช้ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ของการนำวิธีการทำ สัญญาจ้างมาใช้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ (3) แนวทางในการเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ ของการนำวิธีการทำสัญญาจ้างมาใช้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษา คือ ผู้บริหารองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 422 คน กลุ่มตัวอย่างที่นำมาศึกษา จำนวน 206 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยคือแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลคนสำคัญ คือ ผู้แทนผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ผู้แทนท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่ ผู้แทนคลังจังหวัดเชียงใหม่ ผู้แทนผู้อำนวยการสำนักตรวจเงินแผ่นดิน จังหวัดเชียงใหม่ และผู้แทนผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประจำ จังหวัดเชียงใหม่ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณแบบขั้นตอน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้ การวิเคราะห์ SWOT ผลการวิจัย พบว่า (1) ระดับผลสัมฤทธิ์ของการนำวิธีการทำสัญญาจ้างมาใช้ขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ มีมากกว่าร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ปัจจัยด้านความชัดเจนของกฎหมาย และปัจจัยด้านการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ของ การนำวิธีการทำสัญญาจ้างมาใช้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ 52.60 อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) แนวทางในการเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ของการนำวิธีการทำสัญญาจ้างมาใช้ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ควรมีการวางแผนการปฏิบัติงานเพื่อสนับสนุนให้ ภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทในการลงทุนด้านการบริหารการศึกษา ด้านสาธารณสุข และด้านโครงสร้าง พื้นฐานให้มากขึ้น และควรมีการแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับให้มีความชัดเจนง่ายต่อการปฏิบัติ ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการนำวิธีการทำสัญญาจ้างมาใช้ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่เพิ่มสูงขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.147en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสัญญาจ้างth_TH
dc.subjectสัญญาจ้างแรงงานth_TH
dc.titleผลสัมฤทธิ์ของการนำวิธีการทำสัญญาจ้างมาใช้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeAchievement in the provision of public service by means of contracting out in the province of Chiang Mai local governmentth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) level of the achievement in provision of the contracting out of local government in Chiang Mai Province, (2) factors affecting the achievement in provision of the contracting out of local government in Chiang Mai Province, and (3) ways to strengthening the achievement in provision of the contracting out of local government in Chiang Mai Province. This research was a survey research. The population was the administrators of local government in Chiang Mai Province with total of 422 persons, from whom 206 were selected as sample. The research tools were questionnaires and interview forms. The key informants consisted of the representative Chiang Mai Governor, the representative of the Chiang Mai Local government Officer, the representative of Chiang Mai Finance Officer, the representative of Office of the Auditor General of Thailand based in Chiang Mai, and the representative of the Office of the National Counter Corruption Commission based in Chiang Mai. Statistics for data analysis included frequency, percentage, mean, and standard deviation as well as stratified multi-regression analysis, while the analysis of qualitative data was made possible through SWOT analysis. The findings showed that (1) level of the achievement in provision of the contracting out of local government in Chiang Mai Province was higher than 70 percent with statistical significance at .05, (2) the precision of law and legitimations and result-oriented administration factors affected the achievement in provision of the contracting out of local government in Chiang Mai Province by 52.60 percent, with statistical significance at .05, and (3) Regards to the ways to strengthening the achievement in provision of the contracting out of local government in Chiang Mai Province, there should be operation planning to support private sector to concentrate on making more investments in terms of educational administration, public health, and infrastructure to the extent that they become obvious and practical so as to respond to the public demands, and enhance the achievement in provision of the contracting out of local government in Chiang Mai Provinceen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150119.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons