Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7228
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร | th_TH |
dc.contributor.author | เพียงฤทัย สวามิภักดิ์, 2531- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-04T07:26:00Z | - |
dc.date.available | 2023-07-04T07:26:00Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7228 | en_US |
dc.description.abstract | การค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม (2) ระดับความพึงพอใจในการสร้างภาพลักษณ์องค์กรของธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมผ่านทางอินเทอร์เน็ต (3) ระดับความพึงพอใจในการสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ของธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดยอมผ่านทางอินเทอร์เน็ต การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจประชากร คือ ผู้ประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จํานวน 475,240 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรทาโร่ยามาเน่ จํานวน 400 คน สุ่มตัวอย่างตามสะดวกโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีอายุระหว่าง 26 - 35 ปี ประเภทของธุรกิจเป็นธุรกิจบริการยังไม่มีการจดทะเบียนเป็นบริษัทโดยสมบูรณ์ และเพิ่งดําเนินการทําธุรกิจ 5 – 10 ปี ไม่เคยเข้าชมตรวจสอบเว็บไซต์หรือหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนจากรัฐบาล โดยมีการทําธุรกิจผ่านทาง Social Media Facebook มากที่สุด และรับชำระเงินทางการโอนผ่านทางธนาคารมากที่สุด (2) ระดับความพึงพอใจในการสร้างภาพลักษณ์องค์กรของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมผ่านทางอินเทอร์เน็ต พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ให้ความสําคัญต่อการบริหารจัดการที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาการสร้างความน่าเชื่อถือ และการทําชื่อหน้าเว็ปไซต์ให้จดจำได้ง่าย มีการจัดส่งสินค้าที่รวดเร็ว (3) ระดับความพึงพอใจในการสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ของธุรกิจขนาดกลาง และขนาดยอมผ่านทางอินเตอร์เน็ต พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ให้ความสําคัญต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์มากที่สุด รองลงมามีการมีบริการหลังการขายที่ดี มีการแสดงรูปสินค้าหรือบริการที่ชัดเจนมีการรับประกันสินค้า ผลิตภัณฑ์เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและปลอดภัยต่อผู้ใช้ ความคงทนของผลิตภัณฑ์ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้บริโภคมีความมั่นใจให้ภาพลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ บริการ ของผู้ประกอบการ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ธุรกิจขนาดกลาง--เครือข่ายคอมพิวเตอร์ | th_TH |
dc.subject | ธุรกิจขนาดย่อม--เครือข่ายคอมพิวเตอร์ | th_TH |
dc.subject | ภาพลักษณ์องค์การ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การตลาด | th_TH |
dc.subject | ความพอใจของผู้บริโภค | th_TH |
dc.title | ความพึงพอใจต่อการสร้างภาพลักษณ์ผ่านทางอินเทอร์เน็ตของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม | th_TH |
dc.title.alternative | Satisfaction toward building image through internet of small and medium business | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aims to study (1) the data of small and medium enterprises (2) the satisfaction level toward corporate image of small and medium enterprises through the Internet; (3) the satisfaction level toward product image of small and medium enterprises through the Internet. The research was survey research. The population was 475,240 people. The sample size was calculated with Taro Yamane formula to 400 samples with convenient sampling. The questionnaire was used to collect data. Statistical analysis was frequency, percentage, mean and standard deviation. The results were as follows: (1) Most samples were female, aged between 26-35 years old, service business category, unregistered for company and just operated 5-10 years. They never visit the government supportive website or agency. They did business with Social Media; Facebook and transact through the bank transfer. (2) The satisfaction level toward the corporate image of small and medium enterprises through the Internet found that most samples rated the most importance on good management. Secondly, building credibility, having the title page of the website and Fast logistics were following. (3) The satisfaction level toward product image of small and medium business though the Internet was found that most samples focused on the highest quality of products. Secondly, after-sales service was good. There should be a clear photo of goods or services and warranty The product was environmentally friendly and safe for the user as well as product durability. Therefore, the consumers held confidence of the image of the service provider's products. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_154961.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License