Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7248
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพงศ์ มีสมนัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวราภรณ์ เดชครอบ, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-05T01:38:17Z-
dc.date.available2023-07-05T01:38:17Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7248-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร สำนักงานสถิติจังหวัด (2) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสำนักงานสถิติจังหวัด จำแนกตามประเภทบุคลากร (3) ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสำนักงานสถิติจังหวัด และ (4) ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร สำนักงานสถิติจังหวัด การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร ได้แก่ บุคลากรที่เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างชั่วคราว ของสำนักงานสถิติจังหวัด (76 จังหวัด ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 จำนวนทั้งสิ้น 1,546 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 318 คน คำนวณโดยใช้สูตรการหาจำนวนกลุ่มตัวอย่าง ของ ทาโร่ ยามาเน่ โดยสุ่มตัวอย่างแบบสองขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจง ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า (1) ความผูกพันต่อองค์การโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านความเต็มใจที่ จะทุ่มเทความพยายามเพื่อประโยชน์ขององค์การ ด้านความต้องการที่จะคงอยู่เป็นสมาชิกภาพขององค์การ และด้านการยอมรับในเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ อยู่ในระดับมาก (2) เปรียบเทียบความผูกพันต่อ องค์การของบุคลากรสำนักงานสถิติจังหวัดในภาพรวม ระหว่างประเภทบุคลากรที่แตกต่างกัน มีระดับความ ผูกพันต่อองค์การไม่แตกต่างกัน (3) ปัจจัยด้านลักษณะงานมีความผูกพันต่อองค์การโดยรวมอยู่ในระดับมาก ปัจจัยด้านประสบการณ์ในงานมีความผูกพันต่อองค์การโดยรวมอยู่ในระดับมาก และปัจจัยด้าน ประสบการณ์ในงานมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความผูกพันต่อองค์การมากกว่าปัจจัยด้านลักษณะงาน และ (4) ปัญหาที่พบมากที่สุดคือ ความสามัคคี การทำงานเป็นทีม และความเอาใจใส่บุคลากร ทำให้ขาดขวัญและ กำลังใจในการปฏิบัติงาน ข้อเสนอแนะคือ จัดกิจกรรมร่วมกันภายในองค์การ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และเสริมสร้างความสามัคคีของบุคลากรในองค์การth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.207en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ -- ไทยth_TH
dc.titleความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสำนักงานสถิติจังหวัดth_TH
dc.title.alternativeOrganizational commitment of personnel in the Provincial Statistical Officeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were :(1) to study level of organizational commitment of personnel in the Provincial Statistical Office; (2) to compare the organizational commitment of Personnel in the Provincial Statistical Office classified by type of personnel ; (3) to study the factors affecting the organizational commitment of Personnel in the Provincial Statistical Office; and (4) to study the problems and recommend appropriate approaches to enhance organizational commitment of personnel in the Provincial Statistical Office. This study was a survey research. Population was 1546 officials including officials, employees and temporary officials of the Provincial Statistics Offices (76 provinces except Bangkok) in 2016. Samples were 318 personnel calculated by using Taro Yamane formula. Sampling was stratified two–stage sampling method. Statistical tools employed frequency, percentage, mean, standard deviation, one-way analysis of variance, Pearson correlation coefficient and multiple linear regression analysis. Research results revealed that: (1) an overall image of organizational commitment of personnel in the Provincial Statistical Office was at high level. The opinions regarding the willingness to devote their efforts for the benefit of the organization, the desire to remain a membership of the organization and the acceptance of the goals and values of the organization were all at high level; (2) compare organizational commitment of personnel in the Provincial Statistical Overview classified by type of personnel, it was found indifferent; (3) an overall image of factors regarding work characteristics was at high level. Factors regarding work experiences was at high level and had positive relationship with organizational commitment and at higher value than work characteristics; and (4) The most common problems were the lack of unity, teamwork and carefulness which cause of work discouragement. The suggestion was the organization should organize mutual activities within the organization to exchange ideas and strengthen the unity of the personnel in the organizationen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
152361.pdfเอกสาฉบับเต็ม1.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons