Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7251
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรชพร จันทร์สว่าง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกีรติญา ดาวกระจาย, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-05T02:05:11Z-
dc.date.available2023-07-05T02:05:11Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7251-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคในการซื้อสินค้าจาก ตลาดนัดโรเล็กซ์ (2) ศึกษาระดับความสำคัญของส่วนประสมการตลาดของผู้บริโภคที่ซื้อสินค้าจาก ตลาดนัดโรเล็กซ์ เขตปทุมวันกรุงเทพมหานคร และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าจากตลาดนัดโรเล็กซ์ ประชากรในการศึกษา คือ ผู้บริโภคที่ซื้อหรือเคยซื้อสินค้าภายในตลาดนัดโรเล็กซ์ที่ไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของดับเบิลยู. จี. คอชแรนได้ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 ตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ ค่าไคสแควร์และสัมประสิทธิ๙สหสัมพันธ์คอนดิงเจนชี ผลการศึกษาพบว่า (1) พฤติกรรมการซื้อสินค้าจากตลาดนัดโรเล็กซ์ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ซื้อสินค้าประเภทอาหารปรุงสำเร็จรูป ขนมและเครื่องดื่มโดยใช้วิธีการเดินมาจากที่ทำงาน มีความถี่ในการซื้อสินค้าสัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง ซื้อสินค้าช่วงเวลา 12:01-14:00 น. มี รายจ่ายเฉลี่ยต่อครั้งอยู่ที่ 301-600 บาท เหตุผลหลักในการซื้อ คือ ราคาถูกและสามารถต่อรองราคาได้(2) ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญส่วนประสมการตลาดในระดับปานกลางทุกด้าน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจัดจำหน่าย และการส่งเสริมการขาย (3) ด้านความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าจากตลาดนัดโรเล็กซ์พบว่า เพศ อายุ สถานภาพ ระดับ การศึกษา อาชีพและรายได้เฉลี่ย มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อสินค้าจากตลาดนัดโรเล็กซ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth_TH
dc.subjectการซื้อสินค้าth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleพฤติกรรมผู้บริโภคในการซื้อสินค้าจากตลาดนัดโรเล็กซ์ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeConsumers' behavior toward buying products from "Rolex" Street Market, Prathumwan District, Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to study (1) consumers' behavior toward buying products from “Rolex” Street Market, (2) level of importance of marketing-mix factor of consumers toward buying products from “Rolex” Street and (3) the correlation between the personal factors and the consumers' behavior toward buying product from “Rolex” Street Market, Prathumwan district, Bangkok. The populations of this study were the consumers who bought or used products from “Rolex” Street Market, but the exact number was unknown. The sample consisted of 400 consumers, calculated by using formulas of William G. Cochran. A constructed questionnaire was used as a tool to collect data. The analytical statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation and inferential statistics, which included Chi-square and Contingency Coefficient. The results showed that (1) regarding to the consumer behavior toward buying product, most respondents bought food, snacks and beverages and they walked from their office to this market during 12.01 - 14.00 p.m. with the average expense ranged from 301 - 600 baht and frequency of buying was 2-3 times per week. Furthermore, the main reason was that the products were cheap and at bargain price. (2) the majority of respondents were concerned with the marketing mix factors at a moderate level as a whole and in each aspect: product, price, place and promotion; and (3) the correlation between personal factors and consumers'buying behavior revealed that gender, age, marital status, educational level, occupation and average income were correlated to the consumers'buying behavior of Rolex Street Market, with a statistics significance at 0.05 levelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext143733.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons