Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7263
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกุสุมา จันทรวงค์, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-05T02:37:34Z-
dc.date.available2023-07-05T02:37:34Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7263-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของเกษตรกรที่ใช้เคมีเกษตรในจังหวัดเชียงราย (2) ระดับความสำคัญของส่วนประสมทางการตลาดในการตัดสินใจซื้อเคมีเกษตรของเกษตรกรในจังหวัดเชียงราย (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมการตลาดกับปัจจัยส่วนบุคคลของเกษตรกรในจังหวัดเชียงราย (4) เสนอแนะแนวทางการตลาดแก่ร้านค้า ผู้ประกอบการค้า เคมีเกษตร ในจังหวัดเชียงราย การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ผู้คือครองพื้นที่ทางการเกษตรในจังหวัดเชียงรายจำนวน 117,801คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างได้จำนวน 400 คนตามสูตร ของ ทาโร่ ยามาเน่ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที และ ไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า (1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 40-49ปี สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาต่ำกว่ามัธยมปลาย รายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 5,000 บาท ระยะเวลาถือครองที่ดิน และประกอบอาชีพเกษตรกรรม 11-15ปี ใช้เคมีเกษตรเพื่อการเกษตร 6-10ปี ส่วนใหญ่มีรูปแบบการปลูกพืชประเภทพืชยืนต้น มีช่วงเดือนที่ใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีกำจัดศัตรูพืชช่วงไตรมาส 2 ของปีหรือเดือนเมษายน - เดือนมิถุนายน (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดโดยรวมอยู่ในระดับ มากโดยเรียงตามลำดับ ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด (3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาด มีความสัมพันธ์กับปัจจัยส่วนบุคคลเชิงบวกอยู่ในระดับมากอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (4) ข้อเสนอแนะแนวทางการตลาดของร้านค้า และผู้ประกอบการค้าเคมีเกษตรในจังหวัดเชียงราย คือ ให้ส่วนลดเงินสดลูกค้า มีการจัดการสะสมแต้มในการซื้อสินค้าแต่ละครั้งของลูกค้าเพื่อแลกรางวัล จัดเรียงสินค้าให้มีความเข้าใจง่ายและมีความสะดวกในการซื้อของลูกค้าth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสารเคมีทางการเกษตร--ไทย--เชียงรายth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีต่อผลการตัดสินใจซื้อเคมีเกษตรของเกษตรกรในจังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing the buying decision of farmers on Agriculture Chemical in Chiangrai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study (1) the personal factors of farmers who used agrochemical in Chiang Rai province; (2) the level of importance of marketing mix factor affecting decision making to purchase agrochemical of farmers; (3) the relationship between marketing mix factors and personal factors of farmers; and (4) to suggest the marketing guidelines to agrochemical shops and merchants in Chiang Rai province. The population of this survey research was 117,801 farmland holders in Chiang Rai province. The sample consisted of 400 people, selected by using the formula of Taro Yamane. A constructed questionnaire was used as a tool for collecting data. The statistics employed for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test and Chi-square. The study results revealed that (1) most farmers were women, aged 40 - 49 years, with marital status and had education level below high school. The average monthly incomes were not more than 5,000 baht and had term land holdings. They were farmers for 11-15 years and used agrochemical for 6-10 years, mostly with perennial plants. Using chemical fertilizers and chemical pesticides was during 2nd quarter of the year or during April to June; (2) the level of importance of marketing mix factor were overall at a high level, that is, product, pricing, place, and promotion, respectively; (3) the relationship between marketing mix factors and personal factors was positively at a high level with a statistical significance at 0.05; and (4) the guidelines for agrochemical shops and merchants in Chiang Rai province were to promote cash discount, collect points to redeem for special rewards and discounts, and design the product display for the convenience of customers.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_152260.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons