Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7276
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธนชัย ยมจินดา | th_TH |
dc.contributor.author | อัจฉรา เขมะชิต, 2512- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-05T03:12:22Z | - |
dc.date.available | 2023-07-05T03:12:22Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7276 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน (2) ระดับปัจจัยเชิงกลยุทธ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน (3) เปรียบเทียบประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล และ (4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเชิงกลยุทธ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานระดับหัวหน้างาน และผู้ช่วยหัวหน้างาน ประจำหน่วยงานสายการผลิตของบริษัท แมริกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกัด ทั้งโรงงานสาขานิคมอุตสาหกรรมบางปู และสาขานิคมอุตสาหกรรมไฮเทคอยุธยา จำนวน 180 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถามสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเเลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ การทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีแอลเอสดี และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า (1) ระดับความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานโดยรวมอยู่ในระดับดี และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับดีทุกด้านตามลำดับคือ ด้านงานระหว่างการผลิต ด้านต้นทุน ด้านของเสียในกระบวนการผลิต และด้านระยะเวลาการส่งมอบ (2) ระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยเชิงกลยุทธ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน โดยรวมอยู่ในระดับดี และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยเชิงกลยุทธ์ ด้านภาวะผู้นำ ด้านการจัดการความรู้ และด้านการทำงานเป็นทีม อยู่ในระดับดี และมีระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยเชิงกลยุทธ์ ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ อยู่ในระดับพอใช้ (3) พนักงานที่มีลักษณะส่วนบุคคล จำแนกตามโรงงานสาขาที่สังกัดแตกต่างกัน เมื่อเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานพบว่า มีระดับความคิดเห็นที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (4) ปัจจัยเชิงกลยุทธ์ มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานในทิศทางเดียวกันในระดับต่ำ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | บริษัทแมริกอทจิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกัด--พนักงาน | th_TH |
dc.title | ปัจจัยเชิงกลยุทธ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท แมริกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกัด | th_TH |
dc.title.alternative | Strategic factors affecting employee efficiency of Marigot Jewellry (Thailand) Company Limited | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_123500.pdf | 3.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License