Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/727
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเปรมฤทัย น้อยหมื่นไวย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกุญชร เจือตี๋, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอรนรินทร์ แท่นอ่อน, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T05:47:48Z-
dc.date.available2022-08-18T05:47:48Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/727-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อ (1) ศึกษาความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดสุราษฎร์ธานี (2) เปรียบเทียบการเพิ่มขึ้นของความสุข ในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพระหว่างก่อนและหลังปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลักสัปปุริสธรรม และ (3) เปรียบเทียบการเพิ่มขึ้นของความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติการพยาบาล โดยใช้หลักสัปปุริสธรรมและพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติการพยาบาลตามปกติ กลุ่มตัวอย่าง เป็นพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่ได้รับการคัดเลือกแบบเจาะจง จำนวน 20 คน สุ่มเข้ากลุ่มทดลองที่ปฏิบัติการพยาบาลตามหลักสัปปุริสธรรม และกลุ่มเปรียบเทียบที่ปฏิบัติการพยาบาลตามปกติกลุ่มละ10 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามความสุขในการทำงาน ที่ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา 0.97 ก่อนนำมาหาค่าความเที่ยง ด้วยการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธ์อัลฟาของครอนบราค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบทีที่มีกลุ่มตัวอย่างสัมพันธ์กัน และสถิติทดสอบทีที่มีกลุ่มตัวอย่างอิสระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ความสุขในการทำงานโดยรวมของพยาบาลวิชาชีพอยู่ในระดับปานกลาง (2) พยาบาลวิชาชีพหลังปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลักสัปปุริสธรรมมีความสุขในการทำงานเพิ่มขึ้นสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (p < .001) (3) พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลักสัปปุริสธรรมมีความสุขในการทำงานเพิ่มขึ้นสูงกว่าพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (p < .001)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.25-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพ--ไทย--สุราษฎร์ธานีth_TH
dc.subjectสัปปุริสธรรมth_TH
dc.subjectการทำงาน--แง่ศาสนา--พุทธศาสนาth_TH
dc.subjectความสุข--แง่ศาสนาth_TH
dc.titleผลของการปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลักสัปปุริสธรรมต่อความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeEffects of Nursing performance based on the principles of the Sappurisadhamma on happiness at work of professional nurses at a community hospital, Surat Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2017.25-
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this quasi-experimental research were (1) to study the happiness at work of professional nurses at a community hospital, Surat Thani province, (2) to compare an increase of happiness at work of professional nurses who worked based on the principles of the Sappurisadhamma between before and after using the principles of the Sappurisadhamma, and (3) to compare an increase of happiness at work of professional nurses who worked based on the principle of the Sappurisadhamma and professional nurses who worked as usual. The sample consisted of 20 professional nurses working at a community hospital in Surat Thani province. They were selected by purposive sampling and randomly selected into an experimental group and a compared group. The happiness at work questionnaire was used as a research tool. The content validity index (CVI) and Cronbach’s alpha reliability co-efficient of this research tool were 0.97 and 0.95 respectively. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, paired t-test, and independent t-test. The research findings were as follows. (1) Professional nurses rated their happiness at work at the moderate level. 2) After using the principles of the Sappurisadhamma, professional nurses had an increase in their happiness at work statistically higher than before (p< .001). Finally, 3) An increase of happiness at work of professional nurses who performed based on the Sappurisadhamma was statistically higher than professional nurses who worked as usual (p< .001)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext 153726.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons