Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/728
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กมลชัย รัตนสกาววงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | สิทธิวรชัย ศรีไหม, 2512 | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-18T05:51:10Z | - |
dc.date.available | 2022-08-18T05:51:10Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/728 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายอาญามหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง ความรับผิดชอบของประธานวุฒิสภาในการลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ นี้มี วัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดทฤษฎีและหลักเกณฑ์ในการลงนามรับสนองพระบรมราชโองการตามระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาในต่างประเทศ (2) ศึกษาแนวคิดทฤษฎีและหลักเกณฑ์ในการลงนามรับสนองพระบรมราชโองการตามระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาของไทย (3) ศึกษาวิเคราะห์กรณีประธานวุฒิสภาเป็นผู้ลงนาม รับสนองพระบรมราชโองการและความรับผิดชอบของประธานวุฒิสภาในฐานะผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการของไทย (4) เสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับความรับผิดชอบของประธานวุฒิสภาในฐานะผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการของไทย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยเอกสารทั้งจากบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ทั้งใน ระดับรัฐธรรมนูญและระดับพระราชบัญญัติประเพณีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ เป็นประมุขงานวิจัย หนังสือ บทความต่าง ๆ และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่าการที่จะต้องมีผู้ลงรับสนองพระบรมราชโองการรับผิดแทนพระมหากษัตริย์มา จากหลัก “The king can do no wrong” และหลัก “The King cannot act alone” ของประเทศอังกฤษ เนื่องจาก รัฐสภาคณะรัฐมนตรีและศาล แล้วแต่กรณี เป็นผู้ใช้อํานาจอํานาจอธิปไตยในนามของพระมหากษัตริย์ ดังนั้น จึงต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการกระทําขององค์กรดังกล่าว สําหรับพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย์ที่จะต้องมีผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการรับผิดชอบของไทยเป็นไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงใช้อํานาจอธิปไตยผ่านทางสภานิติบัญญัติแห่งชาติ(ทําหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา) คณะรัฐมนตรีและศาล โดยการกำหนดให้ประธานวุฒิสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการเริ่มตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เป็นต้นมา ที่กำหนดให้วุฒิสภามีอํานาจ หน้าที่ในการให้ความเห็นชอบและถวายคําแนะนําต่อพระมหากษัตริย์เพื่อทรงแต่งตั้งผู้ดํารงตําแหน่งตาม บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ประธานวุฒิสภาจึงต้องเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการการใช้อํานาจ หน้าที่ดังกล่าวและหากประธานวุฒิสภาตรวจสอบแล้วพบว่า ผู้ได้รับการสรรหาหรือเลือกไม่มีคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามหรือกระบวนการได้มาไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย ประธานวุฒิสภาในฐานะผู้ลงนาม รับสนองพระบรมราชโองการรับผิดชอบมีอํานาจที่จะยับยั้งไม่นํารายชื่อดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าฯ ได้แต่หากประธานวุฒิสภาในฐานะผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการรับผิดชอบพบว่า ผู้ได้รับการสรรหาหรือเลือกไม่มีคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามหรือการได้มาไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายแล้วยังนํารายชื่อดังกล่าวขึ้น ทูลเกล้าฯ จะต้องมีความรับผิดชอบทั้งในทางการเมืองและในทางอาญาด้วย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.271 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | วุฒิสภา | th_TH |
dc.subject | ความรับผิดชอบ | th_TH |
dc.title | ความรับผิดชอบของประธานวุฒิสภาในการลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ | th_TH |
dc.title.alternative | The responsibilities of the senate speaker in countersigning the Royal Command | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2015.271 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.271 | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.discipline | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research on The Responsibilities of the Senate Speaker in Countersigning the Royal Command is intended to (1) study theories and criteria on countersigning the royal command in the parliamentary system of the other countries; (2) study theories and criteria on countersigning the royal command of Thai parliamentary system; (3) analyze the criteria on countersigning the royal command in Thai parliamentary system in case of the Senate Speaker and his or her responsibility; and (4) recommend the proper criteria and the responsibility of the Senate Speaker in countersigning the royal command in Thai system. This research is qualitative research by documentary research method from the provisions of the Constitution and concerning laws, Thai Constitutional conventions, researches, books, articles and other related documents. The studying found that the countersigning to the royal command came from "The King can do no wrong" and “The King cannot act alone” principles of UK for the King shall exercise such power through the Parliament, the Cabinet and the Courts. Such organs, therefore, must be responsible for any actions therefrom. In Thai parliamentary system, the prerogative of the King that must have been countersigned the royal command is according to the provisions of the Constitution of the Kingdom of Thailand. The King shall exercise the sovereignty through the National legislative Assembly (acts as the House of Representatives, the Senate and National Assembly), the Council of Ministers and the Courts. The principles of the Senate Speaker to countersigning the royal command starting from the Constitution of the Kingdom of Thailand. B.E. 2540 assigned the duties in the Senate to give approval and submit an advice to the King on appointing the political positions. The Senate Speaker, therefore, must response to use such powers and duties. If the Senate Speaker verifies that the nominations has been found disqualified or prohibited, or that the process does not comply with the Constitution or the law, the Senate Speaker who countersigns the royal command shall have the power to suspend such nominations before presenting to the King. If the Senate Speaker found that those nominations or appointment is not qualified or prohibited, or the process does not comply with the Constitution or the law but still intends to present the King for the royal signing, he or she must have both the political and criminal liabilities. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ภาณินี กิจพ่อค้า | th_TH |
Appears in Collections: | Law-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib153693.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License