Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/729
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี สุรเชษฐth_TH
dc.contributor.authorสาธิต โพธิรักษ์, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T06:12:14Z-
dc.date.available2022-08-18T06:12:14Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/729en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ศึกษาถึงกฎหมายเกี่ยวกบการจัดการของเสียอันตราย โดยมีวัตถุประสงค์การศึกษาคือ 1) เพื่อศึกษาแนวคิด หลักการ และทฤษฎีพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อม และมาตรการทางกฎหมายต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการจัดการของเสียอันตรายจากโรงงานอุตสาหกรรม 2) เพื่อศึกษาปัญหาทางกฎหมายในการดําเนินการจัดการของเสียอันตรายและอุปสรรคในการดําเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ 3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายต่างประเทศและหาแนวทางหรือมาตรการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับหลักการดําเนินการที่เป็นสากล และสอดคล้องตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องในด้านการจัดการและแก้ไขปัญหาของเสียอันตราย การศึกษาเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยเอกสารจากหนังสือ ตําราทางวิชาการ วิทยานิพนธ์ ตัวบทกฎหมาย พระราชบัญญัติ บทความวิชาการ วารสาร สื่อออนไลน์ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการของเสียอันตราย ผลการศึกษาพบว่า 1) มาตรการบังคับทางอาญาในคดีสิ่งแวดล้อม มีมาตรการการ ลงโทษยังไม่เพียงพอที่จะบังคับใช้กฎหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพเนื่องจากบทลงโทษไม่มีการแบ่งแยกผู้กระทําความผิดระหว่างบุคคลธรรมดาและผู้กระทําผิดที่เป็นนิติบุคคล ในต่างประเทศ มีการพัฒนาโทษทางอาญาให้เหมาะสมกับนิติบุคคลที่กระทําความผิด เช่น การแก้ไขบทลงโทษปรับให้สูงขึ้น หรือใช้มาตรการอื่นที่ไม่ใช่โทษทางอาญา อันได้แก่ การคุมประพฤตินิติบุคคล การให้ทํางานบริการสังคม 2) ปัญหาด้านหน่วยงานที่รับผิดชอบในต่างประเทศได้มีการตรากฎหมายให้หน่วยงานท้องถิ่นให้มีศักยภาพในการดําเนินการดังกล่าว การจัดให้มีหน่วยงานอิสระ ให้การดําเนินมาตรการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ 3) ในต่างประเทศมีกฎหมายให้ความสําคัญ ของการมีส่วนร่วมโดยการกำหนดให้เป็นหน้าที่ของประชาชนในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14456/jem.2020.1en_US
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.34en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการจัดการของเสีย -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectของเสียจากโรงงาน -- การจัดการ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.titleมาตรการทางกฎหมายในการจัดการของเสียอันตรายจากโรงงานนอกเขตการนิคมอุตสาหกรรมth_TH
dc.title.alternativeLegal measures on hazardous waste management of industries outside the industrial estateth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14456/jem.2020.1en_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2018.34-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.34en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis thesis studies laws on hazardous waste management. This study aims to: 1) study concepts, principles, basic theories on the environment and foreign legal measures related to the management of hazardous waste from industrial factory; 2) study legal problems related to management of hazardous waste and obstacles in operations of relevant agencies; and 3) conduct a comparative study on foreign laws and find ways or measures to improve relevant laws so they comply with international practices and the spirit of the Constitution of the Kingdom of Thailand and relevant laws in management and resolution of hazardous waste problems This study is a qualitative research project, in which related documents, textbooks, theses, laws, acts, journals and online media concerning hazardous waste management were studied. The study findings are as follows. 1) Criminal enforcement measures in environmental cases are not sufficient for effective enforcement because penalties do not separate individual offenders and offenders who are legal entities. In foreign countries, criminal penalties have been developed to be imposed on legal entities that commit offenses such as higher fines or taking measures other than criminal punishment. Use of other measures that are not criminal penalties includes probation for legal entities and community services. 2) Regarding problems on the part of responsible government organizations in foreign countries, laws were issued to empower local organizations to enforce measures effectively. 3) In foreign countries, there are laws placing importance on participation in environmental issues and people are made aware of their responsibilities in environmental management.en_US
dc.contributor.coadvisorวราภรณ์ วนาพิทักษ์th_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib162012.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons