Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7381
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorแสนพล ศรีภูธร, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-06T05:25:57Z-
dc.date.available2023-07-06T05:25:57Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7381-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์กรของตำรวจตระเวนชายแดน กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 23 ค่ายศรีสกุลวงศ์ จังหวัดสกลนคร (2) เปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์กรของตำรวจตระเวนชายแดน กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 23 ค่ายศรีสกุลวงศ์ จังหวัดสกลนคร จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาปัจจัยด้านลักษณะงานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของตำรวจตระเวนชายแดน กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 23 ค่ายศรีสกุลวงศ์ จังหวัดสกลนคร (4) เสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างระดับความผูกพันต่อองค์กรของตำรวจตระเวนชายแดนที่ 23 ค่ายศรีสกุลวงศ์ จังหวัดสกลนคร ประชากรในการศึกษาได้แก่ข้าราชการตำรวจ กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 23 ค่ายศรีสกุลวงศ์ จังหวัดสกลนคร จำนวน 1,038 นาย กลุ่มตัวอย่างจำนวน 289 คน คำนวณจากสูตรของยามาเน่ และกำหนดขนาดตามสัดส่วน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ได้แก่แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์ ถดถอยพหุคูณ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) ในภาพรวมตำรวจตระเวนชายแดน กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 23 ค่ายศรีสกุลวงศ์ จังหวัดสกลนคร มีความคิดเห็นต่อความผูกพันต่อองค์กรอยู่ในระดับมากที่สุด โดยความผูกพันด้านจิตใจมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และ ความผูกพันด้านการคงอยู่กับองค์กรมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (2) บุคลากรที่มีพื้นที่ปฏิบัติงานแตกต่างกันมีระดับความผูกพันต่อองค์กรต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นอกนั้นไม่แตกต่าง (3) ปัจจัยด้านลัดษณะงานมีผลต่อทางบวกความผูกพันต่อองค์กร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยปัจจัยด้านความมีอิสระในการตัดสินใจ ส่งผลมากที่สุด และปัจจัยด้านข้อมูลป้อนกลับส่งผลน้อยที่สุด (4) ข้อเสนอแนะแนวทางเพื่อสร้างความผูกพันต่อองค์กร ได้แก่ องค์กรควรเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาแสดง ความสามารถโดยอิสระในการแก้ปัญหาด้วยตนเอง ควรมอบหมายงานให้เหมาะสมกับงานตามความรู้ ความสามารถ ความสนใจ ความถนัด เปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาชี้แจงแนวทางในการแก้ปัญหาโดยเฉพาะ ปัญหาด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน นอกจากนั้นควรให้ข้อมูลป้อนกลับผลการปฏิบัติงานแก่บุคลากรด้วย วาจานอกเหนือจากลายลักษณ์อักษร เพื่อให้บุคลากรทราบจุดเด่นจุดด้อยและแนวทางในการแก้ไขปรับปรุง การปฏิบัติงานของตนต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectตำรวจตระเวนชายแดนth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ -- ไทย -- สกลนครth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของตำรวจตระเวนชายแดนที่ 23 ค่ายศรีสกุลวงศ์ จังหวัดสกลนครth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting organizational commitment of Police Patrol 23, Srisakunvong Camp, Sakon Nakhon Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) study the level of organizational commitment of Police Patrol 23 officers, (2) compare the level of organization commitment of Police Patrol 23 officers, classified by personal factors, (3) study the job characteristic factors affecting organizational commitment of Police Patrol 23 officers, (4) recommend the appropriate guideline to enhance the organizational commitment of Police Patrol 23 officers, Srisakunvong Camp, Sakon Nakhon Province. Population consisted of 1,038 police officers of Police Patrol 23, Srisakunvong Camp, Sakon Nakhon Province. Samples of 289 officers were obtained via Taro Yamane calculation. Proportional and simple random sampling were applied. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, standard deviation, one way ANOVA, multiple regression analysis and content analysis. The research result revealed that (1) overall opinions of Police Patrol 23 officers on organizational commitment were at very high level, with the highest mean on affective commitment and the lowest mean on continuance commitment, (2) officers working in different areas had different level of organizational commitment at 0.05 level of statistical significance while there was no difference among officers with other personal factors, (3) job characteristics had positive effect on organizational commitment at 0.05 level of statistical significance, with factor on autonomy had the highest effect and feedback factor had the lowest effect, (4) major recommendations to enhance the organizational commitment were that the organization should provide the officers the opportunity to solve their own problem also should assign officers the tasks according to their knowledge, abilities, interests, and aptitude and should provide officers the opportunities to suggest solutions to solve problems particularly the interpersonal ones. Moreover, there should be the provision of verbal feedback to the officers on their operational performance together with the usual written feedback in order to make sure those officers recognize their weaknesses and be able to find appropriate approach to improve their performancesen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
154696.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons