Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7393
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคมth_TH
dc.contributor.authorชมพูนุท ดวงโต, 2532-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-06T06:58:19Z-
dc.date.available2023-07-06T06:58:19Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7393en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อประเมินผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลโพพระอำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ในด้านการเงิน ด้านกระบวนการภายใน ด้านประชาชนผู้รับบริการ และด้านการเรียนรู้และการพัฒนา (2) เพื่อศึกษาปัญหาในการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลโพพระ อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี (3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลโพพระ อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวดั เพชรบุรี ประชากร คือ คณะผู้บริหารและพนักงานขององค์การบริหารส่วนตำบลโพพระ จำนวน 9 คน และ ประชาชนตำบลโพพระ ทั้ง 11 หมู่บ้าน จำนวน 2,205 คน กลุ่มตัวอย่างคือประชาชนตำบลโพพระ จำนวน 339 คน กำหนด ขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ ทาโร ยามาเน่ สุ่มตัวอย่างแบบโควตา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัยประกอบด้วย แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ ใช้สัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 9 คน คือ คณะของผู้บริหารขององค์การบริหารส่วนตำบลโพพระ จำนวน 4 คน และพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลโพพระ จำนวน 5 คน การวิเคราะห์ข้อมลู เชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา และการวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) ผลการปฏิบัติงานด้านการเงิน มีรายรับมากกว่ารายจ่ายทุกปี โดยรายรับที่สูงกว่ารายจ่าย เกิดจากเงินอุดหนุนจากภาครัฐ ด้านกระบวนการภายใน มีเกณฑ์การดำเนินงานได้คะแนนร้อยละ 68.50 อยู่ในระดับดี ด้านประชาชนผู้รับบริการ ความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานและภาพรวมขององค์การบริหารส่วนตำบลโพพระ อยู่ในระดับดี ด้านการเรียนรู้และการพัฒนา พบว่า องค์การบริหารส่วนตำบลโพพระ มีการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มความรู้ และทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ (2) ปัญหาการดำเนินงานที่สำคัญ คือปัญหาด้านการเงิน รายได้ที่จัดเก็บ ไม่เพียงพอต่อการพัฒนาท้องถิ่น ปัญหาด้านกระบวนการภายในคือ บุคลากรขาดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกฎหมายในการดำเนินงาน และขาดการวางแผนในการดำเนินงาน ทำให้ไม่สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปัญหาด้านประชาชนผู้รับบริการ การจัดทำแผนพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำบล ยังไม่ตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นอย่างแท้จริงและทั่วถึง เพราะขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน ปัญหาด้านการเรียนรู้และการพัฒนาการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ยังไม่มีการนำมาปรับประยุกต์กับภารกิจงานและขาดการติดตามประเมินผล (3) ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาด้านการเงิน ควรวางแผนการใช้จ่ายให้ตรงตามความเร่งด่วนและความสำ คัญของท้องถิ่น ด้านกระบวนการภายใน ควรวางแผนด้านบุคลากรในเรื่องการจัดการความรู้ในการปฏิบัติงานและการวางแผนการดำเนินงานเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา ด้านประชาชนผู้รับบริการ ควรส่งเสริมและผลักดันให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในภารกิจขององค์การบริหารส่วนตำบลทุกรูปแบบ ด้านการเรียนรู้และพัฒนา ควรมีการประเมินผล ติดตามการนำความรู้จากการฝึกอบรมมาปรับประยุกต์ใช้กับภารกิจงาน เพื่อให้เกิดศักยภาพในการปฏิบัติงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.94en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--ไทย--การประเมินth_TH
dc.titleการประเมินผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลโพพระ อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรีth_TH
dc.title.alternativeEvaluation of Phopra Sub-district administrative organization, Mueang Phetchaburi District, Phetchaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2016.94-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.94en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed (1) to evaluate the performance of Phopra Sub-District Administrative Organization, Mueang Phetchaburi District, Phetchaburi Province, in financial, internal process, customer, and development and growth aspects (2) to study problems of the performance of Phopra Sub-District Administrative Organization, Mueang Phetchaburi District, Phetchaburi Province (3) to recommend approaches for performance development of Phopra Sub-District Administrative Organization, Mueang Phetchaburi District, Phetchaburi Province. Population were executive committees and officers of Phopra Sub-District Administrative Organization totally 9 persons and 2,205 persons from 11 villages of Phopra Sub-District. Samples were 339 villagers. Sample size was calculated by using Taro Yamane formula. Sampling method was quota sampling. Research instruments were performance assessment form, interview form and questionnaire. Interview form was used for interviewing 9 key informants; those were 4 executive committees and 5 officers of Phopra Sub-District Administrative Organization. Qualitative data analysis employed content analysis. Quantitative data analysis employed descriptive statistics, they were mean, percentage and standard deviation. This research results revealed that: (1) the performance regarding financial aspect, it was found that the revenue was higher than the expense every year. This caused by government subsidy. Internal process aspect, the percentage of performance evaluation achieved at 68.50 at high level. Customer oriented aspect, it was found that people’s satisfaction on overall image and the performance was at high level. Development and growth aspect, it revealed that human resource development was organized for increasing knowledge and job skills (2) major performance problems were as follows: - financial aspect: insufficient local revenue, internal process aspect: the lack of knowledge and skills, understanding on laws and regulations and no work plans that caused performance inefficiency, customer aspect: no consistency between local plan and actual people needs thoroughly and lack of people participation, development and growth aspect: no knowledge application between trainings and jobs and no monitoring and evaluation. (3) Recommendations to solve the problems were, financial aspect: there should prioritize the spending policy in accordance with local urgency and importance, internal process aspect: there should set human resource development plan on knowledge management on the basis of work performance, formulate plan as guidance for the development, customer aspects: there should promote and mobilize people to participate in all forms of Sub-District Organization’s activities and development and growth aspect: there should monitor and evaluate the application of knowledge from training to blend with the mission for further work potentiality.en_US
dc.contributor.coadvisorจีระ ประทีปth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
155138.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons