Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7432
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร | th_TH |
dc.contributor.author | ปัญจพล เหล่าทา, 2520- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-07T01:48:33Z | - |
dc.date.available | 2023-07-07T01:48:33Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7432 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) กลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดที่มีต่อการเลือกใช้บริการโรงพยาบาลเอกชน ในจังหวัดสมุทรปราการ (2) เหตุผลของการเลือกใช้บริการโรงพยาบาลเอกชนของผู้ป่วยในในจังหวัดสมุทรปราการ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับเหตุผลการเลือกใช้บริการโรงพยาบาลเอกชนของผู้ป่วยใน ในจังหวัดสมุทรปราการ และ (4) ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดกับเหตุผลการเลือกใช้บริการโรงพยาบาลเอกชนของผู้ป่วยในจังหวัดสมุทรปราการ กาววิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ ประชากรชาวไทยที่มาเข้ารับบริการประเภทผู้ป่วยในของโรงพยาบาลเอกชน ในจังหวัดสมุทรปราการ ที่ไม่ทราบจำนวนผู้ป่วยที่แน่นอน กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้ความเชื่อมั่นร้อยละ 95 จำนวน 400 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสองขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าไคสแควร์ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) กลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดที่มีต่อการเลือกใช้บริการโรงพยาบาลเอกชนของผู้ป่วยใน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ลำดับค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านนผลิตภัณฑ์ บริการ และลำดับน้อยที่สุด คือ ด้านการส่งเสริมการตลาด (2) เหตุผลการเลือกใช้บริการโรงพยาบาลเอกชนของผู้ป่วยใน ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ลำดับค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือความรู้สึกมั่นใจว่าอาการเจ็บป่วยที่จะได้รับการรักษาให้หาย หรือทุเลาลงจากการเข้ารับบริการจากแพทย์และพยาบาล ลำดับน้อยที่สุด คือ มีความรวดเร็วในการให้การบริการ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลับเหตุผลการเลือกใช้บริการโรงพยาบาลเอกชนของผู้ป่วยใน จากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้าน ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และสิทธิในการรักษาพยาบาล มีความสัมพันธ์กับเหตุผลการเลือกใช้บริการอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดกับ เหตุผลการเลือกใช้บริการโรงพยาบาลเอกชนของผู้ป่วยใน มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน โดยพบว่า ด้านผลิตภัณฑ์บุคลากร/ผู้ให้บริการ และด้านกระบวนการให้บริการ มีความสัมพันธ์ในระดับมาก ด้านความคุ้มค่าของราคาลักษณะทางกายภาพ และด้านสถานที่มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง ด้านการส่งเสริมการตลาดมีความสัมพันธ์อยู่ในระดับน้อยที่สุด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.148 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลเอกชน--ความพอใจของผู้ใช้บริการ.--ไทย--สมุทรปราการ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลเอกชน--การตลาด | th_TH |
dc.subject | การจัดการตลาด--การตัดสินใจ | th_TH |
dc.title | กลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการโรงพยาบาลเอกชนของผู้ป่วยใน ในจังหวัดสมุทรปราการ | th_TH |
dc.title.alternative | Marketing mix strategies affecting to choosing private hospital inpatient in Samut Prakan Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2016.148 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.148 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The research aimed to study (1) the marketing mix strategies for choosing private hospital services; (2) the reasons to choose private hospital inpatient in Samut Prakan; (3) the relationship between personal factors and the reasons to choose private hospital inpatient and (4) the relationship between marketing mix strategies and the reasons to choose private hospital inpatient in Samut Prakan province. This research was a survey study. The population was users of inpatient department in private hospitals in Samut Prakan province with unknown number. The sample size was determined with 95% confidence interval to be 400. The data collection used two-stage sampling method. The research instrument was questionnaire. Data analysis with descriptive statistics was frequency, percentage, mean and standard deviation and with inferential statistics was Chi-square test and Pearson's correlation coefficient The research found that (1) marketing mix strategies for choosing private hospital patients. The overall strategies was high level. Considering each aspect, the highest level was the service mix and the least level was the promotion mix; (2) For the reasons for choosing private hospital inpatient, The overall was at the highest level. Considering each aspect, the highest average was the feeling that the illness will be cured or reduced from doctor and nurse care. The lowest average was the speed of service (3) the relationship between personal factors and the reasons to choose private hospital inpatient from data analysis revealed that personal factor of education, monthly salary and medical scheme related with reasons to choose private hospital inpatient with statistically significant relationship at 0.05 level (4) the relationship between marketing mix strategies and the reasons to choose private hospital inpatient was positive direction and revealed that the product, the personnel/ service provider and the service process mixes were related in high level. The price effectiveness and the physical evidence mixes were related in moderate level. The price mix has related in the lowest level. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สาวภา มีถาวรกลุ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
156028.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License