Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7435
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชินรัตน์ สมสืบ | th_TH |
dc.contributor.author | กัญญารัตน์ งามเฉลียว, 2525- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-07T02:19:23Z | - |
dc.date.available | 2023-07-07T02:19:23Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7435 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การดำเนินการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดชุมพร (2) ระดับภาวะผู้นำของผู้บริหารที่สัมพันธ์กับการดำเนินการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดชุมพร (3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บริหารกับการมุ่งผลสัมฤทธิ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดชุมพร การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรขององค์การบริหารส่วนตำบล ประกอบด้วยไปด้วยผู้บริหาร พนักงานส่วนตำบล และพนักงานจ้างขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดชุมพร จำนวนทั้งสิ้น 1,458 คน โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 314 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างสุ่มแบบโควต้า เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) การดำเนินการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดชุมพร ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการวางแผนกลยุทธ์ขององค์การ ด้านการวัดและตรวจสอบผลการดำเนินงาน ด้านการกำหนดรายละเอียดของตัวบ่งชี้วัดผลการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก และด้านการให้รางวัล ตอบแทนอยู่ในระดับปานกลาง (2) ภาวะผู้นำของผู้บริหารที่สัมพันธ์กับการดำเนินการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ขององค์การริหารส่วนตำบลในจังหวัดชุมพร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก พิจารณาเป็นรายด้านพบว่าทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ การสื่อสาร การมอบอำนาจ การคิดเชิงกลยุทธ์ วิสัยทัศน์ และการเปลี่ยนแปลงองค์การที่เหมาะสม อยู่ในระดับมาก ตามลำดับ (3) ภาวะผู้นำของผู้บริหารมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับสูงกับการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดชุมพร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนตำบล--การบริหาร.--ไทย--ชุมพร | th_TH |
dc.title | การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดชุมพร | th_TH |
dc.title.alternative | Result based management of the Sub-district Administrative Organization in Chumphon Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to (1) study implementation of result-based management of sub-district administrative organizations in Chumphon Province (2) study executive leadership implementation of result-based management of sub-district administrative organizations in Chumphon Province (3) study relationship between executive leadership and result-based management of sub-district administrative organizations in Chumphon Province. This study was a survey research. The population was personnel of subdistrict administrative organizations in Chumphon Province comprising the executives, officials and employees totally 1,458 people. The sample size was 314 people. Sampling method was quota sampling. The research instrument was a questionnaire. Statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation and Pearson product-moment correlation coefficient The research results showed that; (1) an overall image of implementation of result-based management of sub-district administrative organizations in Chumphon Province was at high level. Considering each aspect, it was found that organizational strategic plan, measuring, monitoring and defining indicators of measuring performance were at high level, whereas, compensation aspect was at moderate level (2) executive leadership of implementation of result-based management of sub-district administrative organizations in Chumphon Province was at high level. Considering each aspect, it was found that communication, empowered people, strategic thinking, vision and appropriate organizational changes were at high level respectively (3) executive leadership was highly positive correlated with result-based management of sub-district administrative organizations in Chumphon Province at statistical significance level at 0.01. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | เสน่ห์ จุ้ยโต | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
156029.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License