Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7439
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพงศ์ศักดิ์ ธรรมวิสุทธิ์, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-07T02:51:56Z-
dc.date.available2023-07-07T02:51:56Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7439-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การดำเนินการจัดการความรู้ของการยางแห่ง ประเทศไทย (2) ระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและวัฒนธรรมองค์การที่สัมพันธ์กับการจัดการความรู้ ของการยางแห่งประเทศไทย (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและ วัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อการจัดการความรู้ของการยางแห่งประเทศไทย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานของการยางแห่ง ประเทศไทย จำนวน 2,370 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 343 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน เครื่องมือ ที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) การดำเนินการจัดการความรู้ของการยางแห่งประเทศไทย โดยภาพรวมทั้ง 7 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง และทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านการแบ่งปัน แลกเปลี่ยนความรู้ ด้านการเรียนรู้ ด้านการบ่งชี้ความรู้ ด้านการเข้าถึงความรู้ ด้านการสร้างและแสวงหา ความรู้ ด้านการจัดการความรู้ให้เป็นระบบ และด้านการประมวลและกลั่นกรองความรู้ (2) ภาวะผู้นำ การ เปลี่ยนแปลงของการยางแห่งประเทศไทยโดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง และทุกด้านอยู่ใน ระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านสร้างอิทธิพลเชิงอุดมการณ์ ด้านการกระตุ้น ด้านปัญญา ด้านสร้างแรงบันดาลใจ และแรงจูงใจ และด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล วัฒนธรรมองค์การของการยางแห่งประเทศไทย โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความรับผิดชอบต่อ ตนเอง องค์การและสังคม และด้านความน่าเชื่อถืออยู่ในระดับมาก ด้านผูกพนักเป็นเจ้า ของร่วมกัน และ ด้านก้าวสู่ความเป็นเลิศทางธุรกิจอยู่ในระดับปานกลาง (3) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีความสัมพันธ์ ทางบวกในระดับสูงกับการจัดการความรู้ของการยางแห่งประเทศไทย และวัฒนธรรมองค์การมี ความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับการจัด การความรู้ของการยางแห่งประเทศไทยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงth_TH
dc.subjectวัฒนธรรมองค์การth_TH
dc.titleการจัดการความรู้ของการยางแห่งประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeKnowledge management of Rubber Authority of Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study (1) knowledge management of the Rubber Authority of Thailand (2) level of change leadership and corporate culture affecting knowledge management of the Rubber Authority of Thailand. (3) relationship between change leadership and corporate culture on knowledge management of the Rubber Authority of Thailand. This research was a survey research. Population was employees of the Rubber Authority of Thailand totally 2,370 persons. Samples were 343 samples. Sampling method used proportional stratified sampling. Research instrument was a questionnaire. Statistics used for data analysis employed frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson product-moment correlation coefficient. The research results revealed that: (1) an overview image in all 7 aspects of knowledge management of the Rubber Authority of Thailand was at moderate level and mean of all aspects were also at moderate level. Those were knowledge sharing, learning, knowledge identification, knowledge, access, knowledge, creation and acquisition, knowledge organization and knowledge codification and refinement (2) an overview image of change leadership of the Rubber Authority of Thailand was at moderate level. All 4 aspects of change leadership were all at moderate level. Those were ideal influence, intellectual stimulation, inspirational motivation and individualized consideration. An overview of corporate culture of the Rubber Authority of Thailand was at moderate level. Considered each aspect, it was found that responsibility for self, organization and social and social trust were at high level, whereas, ownership and business excellence aspects were at moderate level. (3) change leadership positively correlated with knowledge management of the Rubber Authority of Thailand. Corporate culture had highly positive correlation with knowledge management of the Rubber Authority of Thailanden_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156043.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons