Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7454
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีปth_TH
dc.contributor.authorณรงค์ฤทธิ์ หอมอ่อน, 2504-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-07T05:40:49Z-
dc.date.available2023-07-07T05:40:49Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7454en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์การดำเนินงานตามกระบวนการงบประมาณของไทยในด้านการจัดเตรียมงบประมาณ การอนุมัติงบประมาณ และการบริหารงบประมาณ (2) วิเคราะห์ปัญหาดำเนินงานตามกระบวนการงบประมาณของไทย (3) เสนอแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานตามกระบวนการงบประมาณของไทย รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 27 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็น แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา โดยการวิเคราะห์สรุปข้อมูล ที่ได้จากเอกสารและการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า (1) การดำเนินงานตามกระบวนงบประมาณของไทย ที่สำคัญคือด้านการจัดเตรียมงบประมาณ การจัดทำคำของบประมาณของส่วนราชการจะยึดถือ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณประจำปี นโยบายของรัฐบาล และนโยบายของหัวหน้าส่วนราชการ ด้านการอนุมัติงบประมาณมีการพิจารณางบประมาณของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาเป็น 3 วาระ ด้านการบริหารงบประมาณมีการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณจำนวนมาก (2) ปัญหาการดำเนินงานตามกระบวนการงบประมาณที่สำคัญ คือ ด้านการจัดเตรียมงบประมาณ เจ้าหน้าที่งบประมาณของส่วนราชการต่างๆ มักนำเอาคำของบประมาณในปีที่ผ่าน มามาใช้เป็นแนวทางในการจัดทำคำของบประมาณในปี ปัจจุบัน ด้านการอนุมัติงบประมาณ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภายังมิได้พิจารณางบประมาณตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ซึ่งให้ความสำคัญกับผลผลิตและผลลัพธ์เท่าที่ควร ด้านการบริหารงบประมาณ การเบิกจ่ายเงินงบประมาณยังดำเนินการได้ล่าช้าไม่สอดคล้องกับมาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายเงินงบประมาณของรัฐบาล (3) ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานตามกระบวนการงบประมาณที่สำคัญ คือ ด้านการจัดเตรียมงบประมาณ ควรพิจารณาจัดทำคำของบประมาณโดยพิจารณาจากเหตุผลและความจำเป็นในปี ที่จัดทำคำของบประมาณ ด้านการอนุมัติงบประมาณ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาควรให้ความสำคัญกับการพิจารณางบประมาณตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ให้มากขึ้น โดยควรมีการจัดสัมมนาเพื่อพิจารณาหาแนวทางที่เหมาะสมในการพิจารณางบประมาณที่เน้นถึงผลผลิตและผลลัพธ์ ด้านการบริหารงบประมาณ หัวหน้าส่วนราชการควรให้ความสำคัญกับการจัดทำแผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณและเร่งรัดติดตามผลการเบิกจ่ายให้เป็นไปตามแผน รวมทั้งควรมีการนำระบบ New GFMIS THAI ที่พัฒนาขึ้นมาใช้ในการบริหารงบประมาณ.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectงบประมาณ--ไทย--การจัดการth_TH
dc.titleการพัฒนาการดำเนินงานตามกระบวนการงบประมาณของไทยth_TH
dc.title.alternativeDevelopment for operating Thai budget processen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to analyze the operation of Thai budget process in aspect of budget preparation, budget adoption and budget execution (2) to analyze problems of operation of Thai budget process (3) to suggest guidelines for operation of Thai budget process. This research was a qualitative research using in-depth interview of 27 experts. Research instrument was a structured interview form. The data was analyzed by using content analysis which was conclusive analysis on data from documents and interviews. The results was found that ( 1 ) an important operation of Thai budget process was budget preparation. The budget requests of the departments followed the 20-Year National Strategy, Annual Budget Allocation Strategy, Government Policy, and Department Policy. In aspect of budget adoption, the House of Representativesand House of Senate considered the budget in 3 periods. In aspect of budget execution, there were a number of budget transfers. (2) Problems of the operation of Thai budget process were, in aspect of budget preparation, budget officers of the departments had always brought budget requests of the past year as an guideline for preparing budget requests in the present year. In aspect of budget adoption, the House of Representatives and House of Senate had not yet considered the budget in principles of Strategic Result Based Budgeting System which focused on outputs and outcomes as it should be. In aspect of budget execution, budget disbursements of the departments were retard and not aligned with the disbursement accelerating measure of the government. (3) The guidelines for operating Thai budget process were that, in aspect of budget preparation, the departments should prepare their budget requests on ration and necessity based in the year of preparing the budget requests. In aspect of budget adoption, the House of Representatives and House of Senate should put more emphasis on budget consideration according to the principles of Strategic Result Based Budgeting System and should organize seminars to seek for appropriate guidelines for better budget consideration which focused on outputs and outcomes. In aspect of budget execution, head of departments should prioritize budget disbursement plan and accelerate the follow up of disbursement as of plan. In addition, the authorities should bring New GFMIS THAI that has been developed to administrate the budget execution.en_US
dc.contributor.coadvisorอิศเรศ ศันสนีย์วิทยกุลth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158642.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons