Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7459
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภูริพัฒน์ ชาญกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorภาวิน ชินะโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจันทิมา กำลังดี, 2533--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-07T06:20:23Z-
dc.date.available2023-07-07T06:20:23Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7459-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคที่เลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไทยที่ขายผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ของกลุ่มผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรี (2) อิทธิพลของการบริหารตราสินค้าที่มีต่อการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไทยที่ขายผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์ของกลุ่มผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรี และ (3) อิทธิพลของการสื่อสารการตลาด เชิงบูรณาการ ที่มีต่อการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไทยที่ขายผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ของกลุ่มผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรี การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรคือ กลุ่มผู้บริโภค เจเนอเรชั่น วาย ใน จังหวัดชลบุรี ที่เลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไทยที่ขายผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เนื่องจากไม่ทราบ จำนวนประชากรที่แน่นอนจึงได้กำหนดขนาดตัวอย่างจากสูตรของ คอแคน ได้ 400 คน โดยใช้วิธีการ สุ่มตัวอย่างแบบตามความสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามออนไลน์ ข้อมูลทุติยภูมิคือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไทยของผู้บริโภค อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ผู้บริโภคให้ความสำคัญด้านคุณภาพและมาตรฐานรับรอง ของสินค้ามากที่สุด และ (2) การบริหารตราสินค้า พบว่า ด้านความภักดีในตราสินค้า ด้านการรับรู้ ตราสินค้า ด้านปัจจัยเชื่อมโยงกับผลิตภัณฑ์ มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไทย ที่ขายผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) การสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการ ได้แก่ ด้านการโฆษณา และด้านการตลาดทางตรง มีอิทธิพลต่อ การตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไทยที่ขายผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ของกลุ่มผู้บริโภค ในจังหวัดชลบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectชื่อตราผลิตภัณฑ์ -- การจัดการth_TH
dc.subjectการสื่อสารทางการตลาดth_TH
dc.subjectการตลาด -- การตัดสินใจth_TH
dc.subjectเครื่องสำอางth_TH
dc.subjectการซื้อสินค้าทางไกลth_TH
dc.titleอิทธิพลของการบริหารตราสินค้าและการสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการที่มีต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคในผลิตภัณฑ์เครืองสำอางไทย ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ในจังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeInfluence of brand management and integrated marketing communication on consumer purchasing decision in Thai cosmetic products through social network in Chonburith_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed: (1) to study the level of purchasing decision in Thai consumers who bought cosmetics products through social network in Chonburi; (2) to study the influence of brand management on consumers purchasing decision in Thai cosmetic products through social network in Chonburi; and (3) to examine the influence of integrated marketing communication on consumers purchasing decision in Thai cosmetic products through social network in Chonburi. This research was quantitative research. The population was generation Y in Chonburi who has purchased cosmetics products through social network. The sample size determined by W.G Cochran’s method was 400 respondents. Sampling method with convenience sampling was applied. The primary data source was collected through online questionnaire. Statistics used in the analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation and multiple linear regression Analysis. The results revealed that: (1) the level of purchasing decision in Thai consumers who bought cosmetics products was at high level. By considering each field separately, consumers focused most on products’ quality and products’ standard; (2) brand management in terms of brand loyalty, brand awareness, and brand association was statistically significant affected on consumer purchasing decision in Thai cosmetic products through social network in Chonburi at .05 level; and (3) integrated marketing communication in terms of advertising and direct marketing was statistically significant affected on consumer purchasing decision in Thai cosmetic products through social network in Chonburi at .05 levelen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158662.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.07 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons