Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/745
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐปนรรต พรหมอินทร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจุมพล หนิมพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorประพนธ์ เจียรกูล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภัชรีภรณ์ ทาวดี, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T07:43:37Z-
dc.date.available2022-08-18T07:43:37Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/745-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยอันได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านสังคมปัจจัยต้านเศรษฐกิจ (2) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของคณะกรรมการหมู่บ้านในอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยอันได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านสังคม ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ กับการมีส่วนร่วมทางการเมืองคณะกรรมการหมู่บ้าน อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ (4) ปัญหาและอุปสรรคของการมีส่วนร่วมทางการเมืองของคณะกรรมการหมู่บ้าน และ (5) เพื่อศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของคณะกรรมการหมู่บ้าน ผลการวิจัย พบว่า 1) กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย กลุ่มที่มีจำนวนมากที่สุค อาอุ 45 -54 ปี การศึกษาระดับประถมศึกษาหรือตํ่ากว่า โดยส่วนใหญ่เป็นสมาชิกกองทุนหมู่บ้านและไม่เป็นหัวหน้ากลุ่มหรือประธานกลุ่มต่าง ๆ กลุ่มที่มีจำนวนมากที่สุดประกอบอาชีพรับข้างทั่วไป และมีรายได้ ระหว่าง 3,000 - 5,000 บาทต่อเดือน 2) กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วมทางการเมืองระดับบ่อยมาก ด้านการใช้สิทธิเลือกตั้ง ระดับบ่อยครั้ง ด้านการชักชวนใบ้ประชาชนไปใช้สิทธิเลือกดังและการติดตามข่าวสารทางการเมือง ระดับปานกลาง ด้านการพูดคุยเกี่ยวกับเรื่องราวทางการเมือง และด้านการเช้าร่วมกิจกรรมทางการเมือง และระดับน้อยครั้ง ด้านการติดต่อกับนักการเมืองหรือเข้าหน้าที่ทางการเมือง 3) ระดับ การศึกษา การเป็นหัวหน้าหรือประธานกลุ่มต่าง ๆ รายได้ และที่มาของคณะกรรมการหมู่บ้าน มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) การติดต่อกับนักการเมืองหรือเข้าหน้าที่ทางการเมืองเป็นปัญหาและอุปสรรคด้านการมีส่วนร่วมทางการเมืองระดับมาก และ 5) การซักชวนใบ้ประชาชนไปใช้สิทธิเลือกตั้ง การติดต่อกับนักการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ทางการเมืองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.145-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมือง--ไทย--เชียงใหม่th_TH
dc.subjectคณะกรรมการหมู่บ้านth_TH
dc.subjectคณะกรรมการหมู่บ้าน--กิจกรรมทางการเมืองth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของคณะกรรมการหมู่บ้าน : ศึกษากรณี อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting political participation of village committee members : a case study of Mae Taeng District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.145-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were study to: (1) personal factors, social factors, and economic factors affecting political participation of village committee members in Mae Taeng District, Chiang Mai Province; (2) political participation of village committee members in Mae Taeng District, Chiang Mai Province; (3) the relationship between personal factors, social factors, and economic factors and political participation of village committee members; (4) the problems of and obstacles to political participation of village committee members; and (5) possible solutions to those problems. The results showed that: (1) the majority of the sample were males. The greatest number was in the 45 - 54 age range and was educated to the level of primary school or lower. Most were members of village fund but were not group leaders. Most were private sector employees and earned 3,000 - 5,000 baht a month; (2) the samples had the most frequent level of political participation in terms of voting. They had a frequent level of participation in terms encouraging others to vote and keeping abreast of political news. They had a medium level of participation in terms of discussing political matters and joining political activities. They least frequently participated in terms of contacting politicians or political officials; (3) the factors of educational level, being head of a group, income, and origin of village committee member status were related to political participation to a statistically significant degree at the level of 0.05; (4) The most significant problem with political participation was contacting politicians or political officials; and (5) The recommended ways of solving the problem are to encourage citizens to vote and to contact politicians or political officials.en_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
98143.pdfเอกสาณฉบับเต็ม5.93 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons