Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7465
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเรวดี รัตนบุรี, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-07T06:47:15Z-
dc.date.available2023-07-07T06:47:15Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7465-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ(1) ประเมินผลการปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตําบลสิชล อําเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช ในด้านการเงินประชาชนผู้รับบริการ ด้านกระบวนการทํางาน ด้านการพัฒนาและการเจริญเติบโต (2) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการดําเนินงานขององค์การ บริหารส่วนตําบลสิชล อําเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราชการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร คือ บุคลากรที่มีความเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตําบลสิชล รวมทั้งสิ้น 22 คน ประกอบด้วย นายกองค์การบริหารส่วนตําบลสิชล ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลสิชล หัวหน้าสํานักปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล ผู้อํานวยการกองคลัง ผู้อํานวยการกองช่าง เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน นักพัฒนาชุมชน บุคลากร ผู้ช่วยเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตําบลสิชล สมาชิกองค์การบริหารส่วนตําบลสิชล จํานวน 2 คน และ ประชาชนผู้รับบริการ จํานวน 10 คน ซึ่งจะใช้วิธีการศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากเอกสาร และการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) การประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการเงินมีรายรับมากกว่ารายจ่ายทุกปีงบประมาณ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2554-2558 ด้านประชาชนผู้รับบริการ ความพึงพอใจของประชาชน ผู้รับบริการอยู่ในระดับมาก ด้านกระบวนการภายในมีเกณฑ์การดําเนินงานได้คะแนนร้อยละ 71.10 อยู่ในระดับพอใช้ ด้านการเรียนรู้และการพัฒนามีการพัฒนาบุคลากรได้คะแนนร้อยละ 60 อยู่ในระดับต้องปรับปรุง (2) ปัญหาในด้านเงินการตั้งงบประมาณรายจ่ายไม่สอดคล้องกับรายจ่ายจริง และรายได้ที่จัดเก็บเองมีจํานวนน้อยไม่เพียงพอต่อการนํามาใช้พัฒนาท้องถิ่น ด้านประชาชนผู้รับบริการ ประชาชนมีคาดหวังกับการให้บริการมากจนไม่สามารถแยกแยะภารกิจและหน้าที่ที่แท้จริงขององค์การบริหารส่วนตําบลได้ ด้านกระบวนการภายใน บุคลากรมีจํากัดทําให้การปฏิบัติงานขาดประสิทธิภาพ ด้านการเรียนรู้และการพัฒนา การฝึกอบรมบุคลากรยังไม่คลอบคลุมทุกตําแหน่ง ข้อเสนอแนะ ด้านการเงินควรจัดทํางบประมาณให้สอดคล้องกับรายจ่ายจริง โดยยึดหลักการประหยัดและคุ้มค่า และให้ความสําคัญกับการจัดเก็บภาษี ด้านประชาชนผู้รับบริการควรประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนเข้าใจภารกิจและหน้าที่ที่แท้จริงขององค์การบริหารส่วนตําบล ด้านกระบวนการภายใน เห็นควรจัดบุคลากรให้ครบตามแผนอัตรากำลัง ด้านการเรียนรู้และการพัฒนา เห็นควรส่งบุคลากรหมุนเวียนเพื่อเข้ารับการอบรมพัฒนาความรู้ให้ครบทุกตําแหน่งth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--การทำงาน--การประเมินth_TH
dc.subjectมาตรฐานการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการประเมินผลการปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตำบลสิชล อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeAn assessment of Sichon Sub-district administrative organization Sichon District Nakhon Si Thammarat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe aim of this study were to: (1) assess the performance of Sichon Sub-district Administrative Organization, Sichon District , Nakhon Si Thammarat Province, in four aspects namely, finance, customers, internal process, and development. (2) study performance problems and recommend approaches for developing Sichon Sub-district Administrative Organization, Sichon District , Nakhon Si Thammarat Province. This study is qualitative research. Population comprised 22 officials who involved with the implementation of Sichon Sub-district Administrative Organization. They were Chief Executive of Sichon Sub-district Administrative Organization , Chief of the Office of Sichon Sub-district Administrative Organization, Chief Administrator , Chief of the Finance Division , Chief of the Public Works Division, Policy and Plan Analyst, Community Development Officer, Personnel Officer, Assistant Treasurer revenue collection officer , Chairman of Sichon Sub-district Administrative Organization Council, 2 members of Sichon Sub-district Administrative Organization Council and 10 customers of Sichon Sub-district Administrative Organization. This study used data from documentary review, in-depth interview..Data analysis used content analysis method. The study revealed that: (1) financial aspect; the organization‘s revenues were over expenditures in each fiscal year since 2011 - 2015. Customer aspect, municipality service and customers’ satisfaction was at high. Internal process aspect, its implementation achieved at 71.10 percent at fair level. Organizational learning and development, there was the percentage of 60 for the development. It was at adjustable level (2) The problem in financial, they were not alignment with the actual expenses, and revenue were not sufficient for local development. Customers expected the service at so high level that not be able to differentiate mission and responsibilities of the organization. Internal process, due to the limit of personnel caused inefficient achievement. Learning and development, it was found that it was not covered all positions in the organization. The recommendations for mentioned problems were: financial aspect, there should be in line with actual expenses by principles of economy and effectiveness by focusing on tax collection.Customer aspect, there should publicize customers’ understanding the mission and responsibilities of the organization. For internal process, there should assign personnel to fit all manpower positions. For learning and development, there should rotate all personnel to be traineden_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_148768.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons