Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7470
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจนแสง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเรืองศักดิ์ แก้วธรรมชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวชิราภรณ์ จันทร์โพธนุกุล, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-07T07:51:53Z-
dc.date.available2023-07-07T07:51:53Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7470-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยของการทำงานร่วมกัน ความไว้วางใจ ความผูกพัน ความยั่งยืน และผลการดำเนินงานของผู้ประกอบการขนส่งทางรถบรรทุกกับผู้ประกอบการส่งออกทางเรือในประเทศไทย (2) วิเคราะห์องค์ประกอบของการทำงานร่วมกัน ความไว้วางใจ ความผูกพัน ความยั่งยืน และผลการดำเนินงานของ ผู้ประกอบการขนส่งทางรถบรรทุกกับผู้ประกอบการส่งออกทางเรือในประเทศไทย (3) วิเคราะห์อิทธิพลองค์ประกอบของ การทำงานร่วมกัน ความไว้วางใจ ความผูกพัน ความยั่งยืนที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานของผู้ประกอบการขนส่งทาง รถบรรทุกกับผู้ประกอบการส่งออกทางเรือในประเทศไทย และ (4) นำเสนอรูปแบบเชิงสาเหตุของการทำงานร่วมกัน ที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานของกิจการระหว่างผู้ประกอบการขนส่งทางรถบรรทุกกับผู้ประกอบการส่งออกทางเรือใน ประเทศไทย วิธีวิจัยใช้แบบผสานวิธี โดยการวิจัยเชิงปริมาณเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ผู้ประกอบการขนส่งทางรถบรรทุกจากท่าเรือกรุงเทพ ท่าเรือแหลมฉบังและท่าเรือสงขลา 149 รายและผู้ประกอบการ ส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมทางเรือจากกระทรวงพาณิชย์ 165 ราย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์ สมการโครงสร้าง ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 9 ราย แล้วนำมาวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้ประกอบการขนส่งทางรถบรรทุกและผู้ประกอบการส่งออกทางเรือในประเทศไทย มีความไว้วางใจ ความผูกพัน ความยั่งยืน และผลการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก ส่วนการทำงานร่วมกันอยู่ในระดับ ปานกลาง (2) องค์ประกอบของการทำงานร่วมกัน ความไว้วางใจ ความผูกพัน ความยั่งยืนและผลการดำเนินงาน ของผู้ประกอบการขนส่งทางรถบรรทุกและผู้ประกอบการส่งออกทางเรือในประเทศไทยมีรูปแบบเหมือนกันแต่มีค่า น้ำหนักองค์ประกอบในการวัดไม่เท่ากัน (3) รูปแบบเชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยผลการดำเนินงานของทั้งผู้ประกอบการขนส่งทางรถบรรทุกและผู้ประกอบการส่งออกทางเรือได้รับอิทธิพลรวม จากการทำงานร่วมกันมากที่สุด ซึ่งส่วนใหญ่มาจากอิทธิพลทางอ้อมผ่านความไว้วางใจ ความผูกพันและความยั่งยืน โดยความไว้วางใจมีอิทธิพลทางตรงต่อผลการดำเนินงาน แต่ความผูกพันไม่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงาน อนึ่งกลุ่ม ผู้ประกอบการส่งออกทางเรือมีการทำงานร่วมกันและความไว้วางใจมีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานมากกว่ากลุ่ม ผู้ประกอบการขนส่งทางรถบรรทุก และ (4) รูปแบบเชิงสาเหตุของการทำงานร่วมกันที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงาน ของผู้ประกอบการขนส่งทางรถบรรทุก คือ ต้องมีความไว้วางใจและสร้างความสัมพันธ์ระยะยาวกับผู้ประกอบการส่งออก ทางเรือ ส่วนรูปแบบเชิงสาเหตุของการทำงานร่วมกันที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานของผู้ประกอบการส่งออกคือสร้าง ความสัมพันธ์ระยะยาวและการดำเนินงานด้านโลจิสติกส์สีเขียวกับผู้ประกอบการขนส่งทางรถบรรทุกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการขนส่งสินค้า -- การจัดการth_TH
dc.subjectการขนส่งทางน้ำth_TH
dc.subjectการขนส่งด้วยรถบรรทุกth_TH
dc.titleรูปแบบเชิงสาเหตุการทำงานร่วมกันระหว่างผู้ประกอบการขนส่งทางรถบรรทุกกับผู้ประกอบการส่งออกทางเรือในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeCausal model of collaboration between trucking companies and export shipping companies in Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาเอกth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to investigate factors of collaboration, trust, commitment, sustainability, and company performance among trucking and export shipping companies in Thailand; (2) to examine the dimensional constructs of collaboration, trust, commitment, sustainability, and company performance among trucking and export shipping companies in Thailand; (3) to analyze the influence of collaboration, trust, commitment and sustainability on company performance among trucking and export shipping companies in Thailand; and (4) to demonstrate the causal model for collaboration and company performance between trucking companies and export shipping companies in Thailand. This study utilized mixed method approach using survey for collecting data from Bangkok port, Laem Chabang port, and Songkhla port, 149 trucking companies and 165 export shipping companies of industrial products from Ministry of Commerce, and then descriptive statistics and structural equation model (SEM) were used for data analysis. In-depth interviews with 9 key informants were used to collect qualitative data and content analysis was used to analyze such qualitative data. The findings were as follows: (1) trucking and export shipping companies in Thailand of trust, commitment, sustainability, and company performance that accounted for the high levels, whereas the collaboration was the moderate level; (2) although there were a similar confirmatory factors of collaboration, trust, commitment, sustainability, and company performance among trucking and export shipping companies in Thailand, a factor loading for each element was unequally; (3) the causal model was consistently with the empirical data. Collaboration had the highest total effects on company performance for both trucking and export shipping companies. Most of them come from indirect influences via trust, commitment, and sustainability. Trust had the direct effect on the company performance. However, commitment has no influence on company performance. Furthermore, the collaboration and trust of export shipping companies had more influence on the company performance than the collaboration and trust of trucking companies and; (4) the causal model of collaboration influencing company performance of trucking companies, must develop both trust and long-term relationship with the export shipping companies. Whereas, the causal model of collaboration affecting the company performance of export shipping companies included developing long-term relationship as well as operating green logistics activities with the trucking companiesen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159488.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons