Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7471
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพนมพัทธ์ สมิตานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเนตรนภา ขัติยศ, 2534--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-10T00:21:02Z-
dc.date.available2023-07-10T00:21:02Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7471-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ศึกษาระดับความสำเร็จของการนำนโยบายการขับเคลื่อนการ พัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืนไปปฏิบัติในจังหวัดพะเยา (2) ศึกษาความแตกต่างกันของความ คิดเห็นของแต่ละอำเภอต่อระดับ ความสำเร็จในการนำนโยบายการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการ ไทยนิยมยั่งยืนไปปฏิบัติในจังหวัดพะเยา (3) ศึกษาปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อการนำนโยบายการขับเคลื่อนการพัฒนา ประเทศตามโครงการไทยนิยมยั่งยืนไปปฏิบัติในจังหวัดพะเยา และ (4) เสนอแนะแนวทางของการนำนโยบายการ ขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยมยั่งยืนไปปฏิบัติในจังหวัดพะเยา ในอนาคต การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมวิธี ประชากรได้แก่ประชาชนชาวจังหวัดพะเยา ทั้งหมด 486,304 คน และทีมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ระดับตำบลในจังหวัดพะเยา ทั้งหมด 816 คน ใช้วิธีการคำนวณกลุ่มตัวอย่างตามสูตรการคำนวณของยามาเน่ ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่างแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ (1) ประชาชนจังหวัดพะเยา จำนวน 401 คน และ (2) ทีมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทย นิยมยั่งยืน ระดับตำบล จำนวน 275 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิอย่างเป็นสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัยได้แก่ แบบสอบถามโดยการแบบสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนายอำเภอในจังหวัดพะเยา สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ ด้วยวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวและการวิเคราะห์เชิงพหุแบบขั้นตอน ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการวิเคราะห์แบบอุปนัย และการจำแนกชนิดข้อมูลอย่างเป็นระบบ ผลการวิจัย พบว่า (1) ระดับความสำเร็จในการนำนโยบายการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ตามโครงการไทยนิยมยั่งยืนไปปฏิบัติในจังหวัดพะเยา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (2) แต่ละอำเภอในจังหวัดพะเยา มีความเห็นต่อความสำเร็จในการนำนโยบายการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยมยั่งยืนไปปฏิบัติ ในจังหวัดพะเยา ที่แตกต่างกัน (3) หลักธรรมาภิบาล การนำนโยบายไปปฏิบัติ การมีส่วนร่วมของประชาชน ในกิจกรรมของภาครัฐและแรงจูงใจของเจ้าหน้าที่รัฐเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลเชิงบวกต่อความสำเร็จในการนำนโยบาย การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืนไปปฏิบัติในจังหวัดพะเยา และ (4) ข้อเสนอแนะ คือ ควรมีการดำเนินโครงการให้ต่อเนื่องและปรับเงื่อนไขในการดำเนินโครงการให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชน ให้มากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโครงการไทยนิยมยั่งยืน -- ไทย -- พะเยาth_TH
dc.subjectการพัฒนาประเทศ -- นโยบายของรัฐth_TH
dc.titleการนำนโยบายการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยมยั่งยืนไปปฎิบัติในจังหวัดพะเยาth_TH
dc.title.alternativeNational development policy implementation of the Thai Niyom YaegYuen project in Phayao Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the level of success in implementing national policy of Thai Niyom Yangyuen Policy in Phayao province; (2) to study the difference of the opinions of each district in level of success in implementing national policy of Thai Niyom YangYuen Policy in Phayao province; (3) to study factors influencing the implementation of national policy of Thai Niyom YangYuen Policy in Phayao province; and (4) to recommend the appropriate approach to enhance the implementation of national policy of in Thai Niyom YangYuen Policy Phayao province in the future. This research was mixed-method survey research. Population were people in Phayao province with total of 486,304 and implementation team of national policy of Thai Niyom YangYuen Policy at district level of Phayao province with total of 816. Sample size, calculated by Taro Yamane’s formula, comprised of 2 groups which were (1) 401 people in Phayao province and (2) 275 members of Thai Niyom Yangyuen’s implementation team in the sub-district. Sampling methods were stratified random sampling with proportional sampling. Instruments were questionnaires and in-depth interview form for District chiefs of Phayao province. Quantitative data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and stepwise multiple regression analysis. Qualitative data were analyzed by using the inductive analysis and the typological analysis The finding of this research were that: (1) the level of success in implementing Thai Niyom YangYuen Policy in Phayao province were not less than 80 percent; (2) the significant difference among opinions of each district on level of success in the policy implementation in Phayao.; (3) policy implementation, good governance, public participation, and motivation of government officials were positively influencing factors on the level of success of the policy implementation; and (4) recommendations were that the policy implementation and project execution should continue and adjust conditions in accordance with people’s way of lifeen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
160393.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons