Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7476
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญth_TH
dc.contributor.authorมณีศิลาภัทร ทัศนียรักษ์, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-10T01:15:17Z-
dc.date.available2023-07-10T01:15:17Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7476en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความสาคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดของธุรกิจอาหารทะเลแบบจัดส่งถึงที่ (2) พฤติกรรมการซื้ออาหารทะเลแบบจัดส่งถึงที่ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการซื้ออาหารทะเลแบบจัดส่งถึงที่ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และ (4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมการตลาดกับพฤติกรรมการซื้ออาหารทะเลแบบจัดส่งถึงที่ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ศึกษาคือ ผู้บริโภคที่พักอาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครซึ่งเคยสั่งซื้ออาหารทะเลแบบจัดส่งถึงที่ ซึ่งไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน กำหนดขนาดตัวอย่างตามสูตรของคอแครนได้ 385 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับความสาคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์มีระดับความสาคัญมากที่สุด (2) พฤติกรรมการซื้ออาหารทะเลแบบจัดส่งถึงที่พบว่า ผู้ซื้อคือ ผู้หญิงวัยทำงาน อายุ 31-40 ปี มีรายได้มากกว่า 45,000 บาทขึ้นไป สั่งซื้อทางโทรศัพท์มือถือเนื่องจากไม่ต้องการเดินทางออกจากบ้าน ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ 501-1,500 บาทต่อครั้งสั่งซื้อเป็นอาหารมื้อเย็น ช่วงเวลา 17.01-19.00 น. ในวันเสาร์-อาทิตย์ ชำระเงินด้วยวิธีการชำระเงินปลายทาง (3) ปัจจัยส่วนบุคคลทุกด้านมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้ออาหารทะเลแบบจัดส่งถึงที่และ (4) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดด้านผลิตภัณฑ์และด้านกระบวนการมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้ออาหารทะเลแบบจัดส่งถึงที่ด้านค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริการจัดส่งสินค้าth_TH
dc.subjectอาหารทะเลth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมการตลาดกับพฤติกรรมการซื้ออาหารทะเลแบบจัดส่งถึงที่ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeRelationship between marketing mix factors and consumer's buying behavior towards seafood with delivery service in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) the importance level of marketing mix factors of seafood businesses with delivery service; (2) consumer’s buying behavior towards seafood with delivery service in Bangkok Metropolis; (3) the relationship between personal factors and consumer’s buying behavior towards seafood with delivery service in Bangkok Metropolis; and (4) the relationship between marketing mix factors and consumer’s buying behavior towards seafood with delivery service in Bangkok Metropolis. This research was quantitative research. The population was unknown consumers who live in Bangkok Metropolis and had experience of buying seafood with delivery service. The sample size was calculated by Cochran formula as a total of 385 consumers, using convenient sampling. The instrument used for data collection was a questionnaire. The statistical analysis employed was frequency, percentage, mean, standard deviation, and correlation coefficient. The research results showed that: (1) the overall important level of marketing mix factors of seafood business with delivery service was at the highest level. The product factor was the highest level of all. (2) Buying behavior towards seafood with delivery service found that the respondents were working women with 31-40 years of age, had earned income more than 45,000 baht per month, bought by mobile phone because they did not want to leave home, had expense of buying at 501-1,500 baht per time, bought for dinner in the period of 17.01-19.00 hours on Saturday-Sunday, and paid cash on delivery. (3) The personal factors of consumers in all aspects were related to buying behavior towards seafood with delivery service. (4) The product factor and process factor of marketing mix factors were related to buying behavior towards seafood with delivery service in the aspect of buying expense.en_US
dc.contributor.coadvisorอโณทัย งามวิชัยกิจth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
160958.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons