Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7506
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รังสรรค์ ประเสริฐศรี | th_TH |
dc.contributor.author | ไพลิน นุชถาวร | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-11T02:40:55Z | - |
dc.date.available | 2023-07-11T02:40:55Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7506 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพึ่อศึกษา (1) ระดับการมีส่วนร่วมของผู้ใช้น้ำ (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรส่วนร่วมของผู้ใช้น้ำ (3) เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของผู้ใช้น้ำ และ (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะการมีส่วนร่วมของผู้ใช้น้ำในการบริหารจัดการน้ำชลประทาน โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาโดมน้อย จังหวัดอุบลราชธานีประชากรที่ใช้ไนการวิจัยครั้งนี้ คือ สมาชิกกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทานจำนวน 6,625 ราย โดยสุ่มแบบชั้นภูมิ ได้กลุ่มตัวอย่าง 380 ราย เครื่องมือที่ใช้เน้นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถีค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่ำสุด และค่าสูงสุด วิเคราะห์ระดับการมีส่วนร่วมของผู้ใช้น้ำใช้การทดสอบค่าที วิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยวิธีถดถอยเชิงพหุ และ วิเคราะห์ความแตกต่างใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และหาความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีเชฟ่เฟ่ ผลการวิจัย พบว่า (1) การมีส่วนร่วมของผู้ใช้น้ำในการบริหารจัดการน้ำชลประทานในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของผู้ใช้น้ำในการบริหารจัดการน้ำทุกขั้นตอน พบว่า ตัวแปรอิสระมีความสัมพันธ์ 6 ตัวแปร มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ บทบาทผู้นำกลุ่มผู้ใช้น้ำ ความรู้ความเข้าใจของผู้ใช้น้ำ ความเข้มแข็งของกลุ่มผู้ใช้น้ำ ความพึงพอใจของผู้ใช้นำ และบทบาทสมาชิกกลุ่มผู้ใช้น้ำ (3) การเปรืยบเทียบความแตกต่างการมีส่วนร่วมในด้านการบริหารจัดการน้ำในภาพรวม พบว่า การมีส่วนร่วมระหว่างฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 1- 4 แตกต่างกัน โดยผู้ใช้น้ำฝ่ายส่งนำที่ 3 มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการน้ำชลประทานมากที่สุด (4) ปัญหาด้านการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการน้ำ พบว่า ผู้ใช้น้ำขาดการวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการแกัไขปัญหาที่เกิดขึ้น ปัญหาการกำหนดระเบียบ กระบวนการ และวิธีดำเนินกิจกรรมการบริหารจัดการน้ำและบำรุงรักษา การร่วมสมทบแรงงานในการขุดลอกคลอง - คูส่งนำและทางระบายน้ำและมีปัญหาด้านการเสนอแนะเพื่อแก้ไขปรับปรุงการบริหารจัดการน้ำและการบำรุงรักษา ทั้งนี้ผู้ใช้น้ำได้เสนอแนะเจัาหน้าที่ชลประทานควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์ และผู้เกี่ยวข้องต้องช่วยกันตรวจสอบการส่งน้ำอย่างเคร่งครัคควรช่อมแซมคลองให์ใช้งานได้ดี และควรเก็บเงินค่าน้ำชลประทาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.66 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ชลประทาน--การมีส่วนร่วมของประชาชน | th_TH |
dc.subject | ชลประทาน--ไทย--อุบลราชธานี | th_TH |
dc.title | การมีส่วนร่วมของผู้ใช้น้ำในการบริหารจัดการน้ำชลประทาน : กรณีศึกษาโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาโดมน้อย จังหวัดอุบลราชธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Water users' participation in irrigation water management : a case study of the Dom Noi operation and maintenance project in Ubon Ratchathani province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2009.66 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.66 | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were : (1) to study the water users participation level;(2) to study the factors influencing the water users participation; (3) to compare the water users participation; and (4) to study the water users problems and suggestions on the water users participation in irrigation management of the Dorn Noi Operation and Maintenance Project, Ubon Ratchathani Province. The population in this study were 6,625 water users who were water user group members. 380 samples were selected by using stratified random sampling methodology. The instrument used was questionnaires. The statistic used to analyze the data by computer programs were the frequency, percentage, mean, minimum value, maximum value, and standard deviation; t - test Analysis for analyzing the water users participation level; Stepwise Multiple Regression Analysis for analyzing the relationship; and One - way Analysis of Variance (One - way ANOVA) for analyzing the difference, and finding the difference in pairs by using Scheffe Method.The findings of this study were as follows: (1) The overall water users' participationin irrigation water management in every process w as at “much” level; (2) As for the factors influencing that Water users articipation in irrigation management, it was found that there were 6 independent variables at .05 statistical significance, the variables were the communications and public relations, die role of water user group leaders, the understanding of water use, the robustness of the water users, the satisfaction of water users, and the role of water user groups; (3) As for the comparison of the participation in overall irrigation management, it was found that there was a difference water users among Operation and Maintenance Branch 1 through 4, the Operation and maintenance branch 3 had participated in the irrigation management the most of all; and (4) As for the problems on participation in the irrigation management, it was found that The lack of water analysis approach to resolve problems that arise, issue regulations defining the process and how water management activities and maintenance joint participation in the labor dredging canals - each send and drainage water, and a recommendation to issue the updated Water management and maintenance. The water users have suggested that officials should increase public relations and relevant check of Irrigation water delivery strictly, canal should be repaired, and user charge should be carried out. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สมศักดิ์ สามัคคีธรรม | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
118853.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.95 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License