Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7513
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศ | th_TH |
dc.contributor.author | จิตติมา วงศ์วิชัย, 2516- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-11T03:26:17Z | - |
dc.date.available | 2023-07-11T03:26:17Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7513 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการ กรมสรรพากร สังกัดสำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 21 (2) เปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมสรรพากร สังกัดสำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 21 จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ข้าราชการกรมสรรพากร สังกัดสำนักงานสรรพากรพื้นที่ กรุงเทพมหานคร 21 จำนวน 174 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรของทาโรยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 122 คน โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบความแปรปรวนจำแนกทาง เดียว และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาพบว่า (1) ข้าราชการมีระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับ มาก โดยปัจจัยจูงใจที่มีระดับการจูงใจสูงที่สุดคือ ด้านความสำเร็จของงาน รองลงมาคือ ด้านลักษณะ งาน ด้านความรับผิดชอบ ด้านการยอมรับนับถือ และด้านความก้าวหน้า ตามลำดับ ส่วนปัจจัยคํ้าจุนมีระดับการจูงใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยที่มีระดับการจูงใจสูงที่สุดคือ ด้านการควบคุมการนิเทศงาน รองลงมาคือ ด้านความสัมพันธ์ภายในหน่วยงาน ด้านนโยบายและการบริหาร ด้านสภาวะการทำงาน และ ด้านเงินเดือน ตามลำดับ (2) ข้าราชการที่มีเพศ อายุ สถานภาพ อายุการทำงาน ระดับการศึกษา รายไต้ ระดับตำแหน่งงาน และฝ่ายที่ปฏิปติงานต่างกัน มีระดับแรงจูงใจในการปฏิป้ติงานในโดยรวมไม่แตกต่างกัน แต่หากพิจารณาในรายต้าน พบว่า ข้าราชการที่มีอายุการทำงานแตกต่างกัน จะมีปัจจัยจูงใจด้านความสำเร็จของงานและปัจจัยคํ้าจุนด้านนโยบายและการบริหารมีความแตกต่างกัน และข้าราชการที่มีฝ่ายที่ปฏิบัติงานต่างกัน จะมีปัจจัยคํ้าจุนด้านเงินเดือนที่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | กรมสรรพากร--ข้าราชการ--ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | การจูงใจในการทำงาน | th_TH |
dc.title | แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมสรรพากรสังกัดสำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 21 | th_TH |
dc.title.alternative | Working motivation of government officials in Bangkok Area Revenue Office 2 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to study the level of working motivation of government officials in Bangkok Area Revenue Office 21, and (2) to compare working motivation of government officials in Revenue Department classified by personal characteristic. The sample consisted of 122 out of 174 government officials in Bangkok Area Revenue Office 21 by Taro Yamane’s formula with stratified sampling. The collecting data tool was a constructed questionnaire with reliability of 0.95. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way Analysis of Variance, and LSD. The results revealed that (1) the government officials' overall working motivation was at a high level. At the highest level was work achievement, followed by work characteristics, responsibility, recognition, and advancement respectively. As for the hygiene factors, they were found to be overall at a high level. At the highest level was supervisory control, followed by the relationship within organization, policy and management, work environment, and salary. (2) Government officials with different gender, age, employment status, periods of working, education levels, income, level of jobs and different working divisions overall had no different working motivation performance. However, concerning in each aspect, it was found that the government officials with different periods of working had different working motivation on work achievement and different hygiene factors on policy and administration. Also, officials with different working divisions had different hygiene factors on salary. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_140790.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License