Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7522
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรณงค์ศักดิ์ บุญเลิศ , อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนงลักษณ์ กิสรวงศ์, 2502--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-11T06:14:23Z-
dc.date.available2023-07-11T06:14:23Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7522-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพปัญหาและอุปสรรคการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ในสภาวะเศรษฐกิจถดถอยของอุตสาหกรรมก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ (2) ศึกษากลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ในสภาวะเศรษฐกิจถดถอยของอุตสาหกรรบก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูงและผู้จัดการ ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ของบริษัทในอุตสาหกรรมก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ จำนวน 206 คน โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่าง แบบง่าย เครี่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมานค่า ที่เกี่ยวกับกลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์ใน สภาวะเศรษฐกิจถดถอยที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.73 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อย ละ ค่าเฉลี่ย (X) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่าสถิติ t-test ค่าสถิติ ANOVA การทดสอบความสัมพันธ์ด้วยวิธึ การหาค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Correlation) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ผลการวิจัยพบว่า (1) ประเภทธุรกิจที่แตกต่างกัน ใช้กลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์แตกต่างกัน (2) ขนาดของบริษัทที่แตกต่างกันใช้กลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์ไม่แตกต่างกัน (3) จำนวนพนักงานที่แตก ต่างกันใช้กลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์ไม่แตกต่างกัน (4) นโยบายการจัดการทรัพยากรมนุษย์มีความ สัมพันธ์กับกลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (5) ระดับของปัญหาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ไม่มีความสัมพันธ์ กับระดับการใช้กลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ข้อเสนอแนะ ควรให้มีการกำหนดหรือวางแนวทางกลยุทธ์การ จัดการทรัพยากรมนุษย์ภายใต้กรอบของข้อค้นพบการวิจัยครั้งนี้นำไปทดสอบหรือใช้จริงกับหน่วยงานหรือ บริษัท และควรให้ศึกษากลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในช่วงระยะเวลาเศรษฐกิจดี เพื่อนำข้อมูลการจัดการ ทรัพยากรมนุษย์มาเปรียบเทียบ การวิจัยครั้งต่อไป ควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสร้างการจัดการทรัพยากร มนุษย์โดยมุ่งเน้นขั้นตอนอย่างละเอียด และสุดท้ายควรทำการศึกษากลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์อีกครั้ง เมื่อพ้นระยะเวลา 4 ปีไปแลัว เพื่อจะได้ทราบว่ากลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์จะอยู่ในรูปแบบและทิศทางใด ในอนาคต เมื่อประเทศสามารถฟื้นฟูธุรกิจและสภาวะเศรษฐกิจได้ดีขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectทรัพยากรมนุษย์ -- การจัดการth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมการก่อสร้างth_TH
dc.titleกลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในสภาวะเศรษฐกิจถดถอยของอุตสาหกรรมก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ ในช่วงระยะเวลา ปี พ.ศ. 2540-2544th_TH
dc.title.alternativeStrategy of human resource management of construction and real estate industry during the economic recessionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study problems and obstacles of Human Resource Management during the economic recession; and (2) to study a strategy of Human Resource Management of Construction and Real Estate Industry during the economic recession. This was a historical survey research. The population was Top Executives and Human Resource Directors from companies of Construction and Real Estate Industry. Sampling technique was used to draw two hundred and six subjects. Questionnaires were used to collect data from a sampling. Percentage, Means, Standard Deviation, ANOVA, T-Test and the Pearson’s were used to analyze data through SPSS program. The research findings showed that (1) Types of business and a strategy of Human Resource Management were significantly different at the 0.05 level. Construction Contractors and Consultants used most of a strategy of Human Resource Management. (2) There was not difference between size of company and a strategy of Human Resource Management. The medium and small companies used the most of a strategy of Human Resource Management. (3) There was not difference between, number of employees and a strategy of Human Resource Management, the company which was 201-300 employees used the most of a strategy of Human Resource Management. (4)A significant positive relationship was found between Human Resource Management policy and a strategy of Human Resource Management at the level of 0.01 .(5) A significant positive relationship was not found between level of Human Resource Management problems and a strategy of Human Resource Management. The recommendation: there should formulate the tendency of Human Resource management strategy within a frame of the result of this study and to implement by the companies. At the normal economic, a strategy of Human Resource Management should be studies in order to compare Human Resource Management information during both period of time. In the future, the Human Resource Management structures should be deeply study, especially in details. Finally, a study of a strategy of Human Resource Management should be studied again after 4 years in order to foresee trends and directions of Human Resource Management strategy when country is at a better economyen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77164.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons