Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/752
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorช่อทิพย์ บรมธนรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรางคณา จันทร์คง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฐิติวรดา อัครภานุวัฒน์, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T08:22:22Z-
dc.date.available2022-08-18T08:22:22Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/752-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงวิเคราะห์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยลักษณะบุคคล กระบวนการบริหารองค์กรและแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน (2) ระดับการพัฒนาระบบบริการ (3) ปัจจัยลักษณะบุคคลกระบวนการบริหารองค์กร และแรงจูงใจที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาระบบบริการในโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดแม่ฮ่องสอน และ (4) ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการพัฒนาระบบบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจังหวัดแม่ฮ่องสอน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีเลือกแบบเจาะจงในกลุ่มผู้อำนวยการและเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานให้บริการสาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวน 71 แห่งๆ ละ 2 คน รวมทั้งสิ้น 142 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชายอายุเฉลี่ย 40.97 ปี สถานภาพสมรสคู่ จบการศึกษาระดับปริญญาหรือเทียบเท่า ประสบการณ์การทำงานเฉลี่ย 18.14 ปี และมีรายได้เฉลี่ย 21,959.81 บาท ปัจจัยกระบวนการบริหารในภาพรวม และด้านการวางแผน การจัดองค์กร อยู่ในระดับสูงส่วนด้านการจัดคนเข้าทำงานและการอำนวยการอยู่ในระดับปานกลาง แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ปัจจัยจูงใจ และปัจจัยคํ้าจุน ในภาพรวม อยู่ในระดับสูง (2) การพัฒนาระบบบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพจังหวัดแม่ฮ่องสอนในภาพรวม และด้านการพัฒนาฐานข้อมูลและด้านการจัดบริการในบ้านอยู่ในระดับสูง (3) ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาระบบบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 คือ แรงจูงใจในการปฏิบัติงานและกระบวนการบริหารองค์กรในภาพรวม โดยสามารถทำนายการพัฒนาระบบบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลได้ร้อยละ 25.5 และ 18.9 ตามลำดับ และ (4) ปัญหาอุปสรรคที่สำคัญคือภาระงานหนักจำนวนบุคลากรไม่ครบตามกรอบอัตรากำลัง สภาพการคมนาคมในพื้นที่ยากลำบาก และการสร้างเครือข่ายทำได้ยาก ข้อเสนอแนะต่อผู้บริหารสาธารณสุขในระดับจังหวัด ควรเพิ่มบุคลากรให้เหมาะสมตามโครงสร้างกำลังคน และสนับสนุนอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานอย่างเพียงพอ เน้นการสร้างเครือข่ายอาสาสมัครชุมชนจิตอาสาให้มากขึ้น เพื่อเพิ่มการพัฒนาระบบบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจังหวัดแม่ฮ่องสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งๆ ขี้นไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล--ไทย--แม่ฮ่องสอนth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาระบบบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดแม่ฮ่องสอนth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the service system development in Sub-district Health Promoting Hospitals, Meahongson Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this analytic research were to study: (1) personal characteristics, organization management process, and job motivation; (2) level of service system development; (3) personal characteristics, organization management process, and job motivation factors that affects the development of service system in sub-district health promoting hospitals, Meahongson province; and (4) problems, obstacles and suggestions for the service system development in sub-district health promoting hospitals, Meahongson province A sample group in the study was purposively recruited from a group of directors and health personnel who were responsible for health service from 71 sub-district health promoting hospitals, Meahongson province, each of 22 persons, with a total of 142 samples. Data were collected by a questionnaire, with a reliability of 0.969. Statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and Stepwise Multiple Regression Analysis. Findings were as follows: (1) Most samples were male, with average age of 40.97 years old, married, finished bachelor's degree or equivalent, had work experience for about 18.14 years, and had average income of about 21,959.81 baht/month. Overall organization management process and in planning and organizing aspects were at a high level. Job motivation, motivation factors and hygiene factors were at a high level; (2) Overall service system development in sub-district health promoting hospitals in Meahongson province, and in database development and home service aspects were at a high level; (3) Factors that significantly affected the service system development in sub-district health promoting hospitals were overall job motivation and organization management process, at 0.05 level and predicted for the service system development of 25.2 percent; and (4) important problems and obstacles were work load, shortage of health personnel, commuting and networking difficulties. Recommendations for the provincial manager were that they should recruit more health personnel, support for essential health equipment, emphasize on network building of community volunteers to promote service system developmenten_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128989.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons