Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7535
Title: การจัดการการเปลี่ยนแปลงในการนำระบบวางแผนทรัพยากรองค์การมาใช้ในบริษัทไทยการ์เมนต์เอ๊กซปอร์ต จำกัด
Other Titles: Change management in implementing enterprise resource planning system of Thai Garment Export Co., Ltd.
Authors: จีราภณ์ สุธัมมสภา, อาจารย์ที่ปรึกษา
พงษ์สวัสดิ์ พูลเรืองเผ่า, 2509-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณี
บริษัทไทยการ์เมนต์เอ๊กซปอร์ต--การจัดการ
การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ
Issue Date: 2551
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การศึกษาเรื่องการจัดการการเปลี่ยนเปลงในการนำระบบวางแผนทรัพยากรองค์การมาใช้ ในบริษัท ไทยการเมนต์เอ็กซปอร์ต จำกัดครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการนำระบบ วางเผนทรัพยากรองค์การมาติดตั้งและปรับใช้ใน บริษัท ไทยการ์เมนต์ เอ๊กซปอร์ต จำกัด 2) ศึกษาความคิดเห็น ต่อการนำหลักการจัดการการเปลี่ยนเปลงมาใช้ โดยดำเนินการควบคู่กับการติดตั้งและปรับใช้ระบบวางเผนทรัพยากรองค์การ 3) ศึกษาผลที่เกิดขึ้นจากการนำระบบวางแผนทรัพยากรองค์การมาใช้วิธีการศึกษา ศึกษากระบวนการติดตั้งและปรับใช้ระบบวางเผนทรัพยากรองค์การ ตามแนวความคิดในการนำระบบสารสนทศมาใช้ในองค์การ และศึกษาความคิดเห็นผู้เกี่ยวข้องที่ใช้ระบบสารสนเทศจำนวน 10 คน โดยใช้แบบสัมาาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่า 1) บริษัทนำระบบวางเผนทรัพยากรองค์การมาใช้แทนระบบเดิม ด้วยวิธีใช้ทุกระบบย่อยพร้อมกันคราวเดียว (Big Bang) 2) ผู้เที่ยวข้องมีความเห็นต่อการที่บริษัทนำหลักการจัดการเปลี่ยนแปลงเพื่อนำระบบวางแผนทรัพยากรองค์การมาใช้ โดยภาพรวมในระดับเห็นด้วย โดยขั้นตอนที่เห็นด้วยมากที่สุด ได้แก่ ขั้นตอนการสื่อสาร รองลงมาคือขั้นตอนด้านการกำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ และลำดับ สุดท้ายที่เห็นด้วยน้อยที่สุดได้แก่ ขั้นตอนกลยุทธ์ในการดำเนินโครงการ 3) ผลที่เกิดจากการนำระบบวางแผนทรัพยากรองค์การมาใช้ คือสามารถลดความช้ำช้อนในการทำงานลงได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเผนกต่าง ๆ ที่เป็นปลายทางของระบบเช่นเผนาบัญชี ซึ่งไม่ต้องบันทึกข้อมูลที่ซ้ำช้อนอีก เนื่องจากได้บันทึกมาแล้วตั้งเต่ต้นทางของระบบ แต่มีงานบางสวนที่เพิ่มขึ้นในสวนของต้นทางของระบบ ซึ่งอาจต้องบันทึกข้อมูลเพิ่มในส่วนที่ยังไม่เคยถูกบันทึกมาก่อนทั้งนี้ทั้งนั้นก็เพื่อเป็นการลดขั้นตอนงานโดยรวมขององค์การ
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7535
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_121957.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.44 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons