Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7566
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์th_TH
dc.contributor.authorชัยพร ศรีโบราณ, 2502-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-12T00:49:03Z-
dc.date.available2023-07-12T00:49:03Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7566en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพี่อ (1) วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานโรงแรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2) วัดระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานโรงแรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (3) เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานโรงแรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำแนกตาม เพศ ระดับตำแหน่ง ระดับการศึกษา และกลุ่มจังหวัดที่ตั้งโรงแรม และ (4) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานโรงแรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานโรงแรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 390 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 3 ตอน มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยคะ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test F-test วิธีการของสติวเดนท์ นิวแมน คูลส์ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PC+ ผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่า พนักงานโรงแรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความพึงพอใจต่อปัจจัยที่มีผลต่อความ พึงพอใจในการปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับมาก พนักงานโรงแรมที่มีเพศ ระดับการศึกษา และอยู่ในกลุ่มจังหวัดที่ตั้งโรงแรมต่างกันมีระดับความพึงพอใจต่อปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ แต่พนักงาน โรงแรมที่มีระดับตำแหน่งต่างกัน มีระดับความพึงพอใจต่อปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยพนักงานระดับบริหารมีระดับความพึงพอใจต่อปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานมากกว่าพนักงานระดับปฏิบัติการพนักงานโรงแรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับมากพนักงานโรงแรมที่มีเพศ ระดับตำแหน่ง และระดับการศึกษาต่างกัน มีระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ แต่พนักงานโรงแรมที่อยู่กลุ่มจังหวัดที่ตั้งโรงแรมต่างกันมีระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยพนักงานโรงแรมในกลุ่มจังหวัดศูนย์กลางเศรษฐกิจและกลุ่มจังหวัดชาายแดนมีระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานมากกว่ากลุ่มจังหวัดที่ไม่เป็นศูนย์กลางเครษฐกิจและชายแดนปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานโดยรวมทุกด้านมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานโรงแรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยปัจจัยด้านความสัมพันธ์ระหว่างผู้ร่วมงานมความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ด้านความนั่นคงในการทำงาน ด้านสภาพแวดลัอม การทำงาน ด้านนโยบายและการบริหาร ด้านการบังกับบัญชา ด้านค่าตอบแทนแสะสวัสดิการ ด้านการยอมรับนับถือ ด้านลักษณะงาน ด้านความก้าวหน้าในการทำงาน ด้านความรับผิดชอบ และด้านความสำเร็จในการทำงาน ตามลำลับ ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหารโรงแรมควรใช้ระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคล ร่วมมือกับโรงแรมต่าง ๆ เพื่อพัฒนาบุคลากรร่วมกัน ตรวจสอบและแก้ไขปรับปรุงปัจจัยจูงใจและปัจจัยอนามัยอยู่เสมอ และประยุกต์ใช้เทคนิคการบริหารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเสริมสร้างความสามัคคีในองค์การการส่งเสริมการทำงานเป็นทีม และการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์การ (Total Quality Management : TQM)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความพอใจในการทำงาน--ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)th_TH
dc.subjectพนักงานโรงแรม--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานโรงแรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the job satisfaction of hotel employees in Northeast of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to analyse the factors affecting job satisfaction of hotel employees in Northeast of Thailand ; (2) Io measure the levels of job satisfaction of hotel employees in Northeast of Thailand : (3) to compare the levels of job satisfaction of hotel employees : Northeast of Thailand based on genders, levels of position, levels of education and groups of provinces where each hotel located; and (4) to analyse the relation between the factors affecting job satisfaction and the job satisfaction of hotel employees in Northeast of Thailand. Sample for this research comprised 390 hotel employees in Northeast of Thailand, who were selected through stratified random sampling. An instrument for data colection was a questionnaire comprising three sections with a reliability at 0.97. SPSS/PC+ computer program was used to calculate the percentage, frequency, mean, standard deviation. West, F-test. Student Newman Keuls Method and Simple Correlation Coefficient. The results of these analyses showed that the hotel employees in Northeast of Thailand were satisfied with the factors affecting job satisfaction as a whole to be at a high level. The hotel employees with different genders, levels of education and groups of provinces where each hotel located were satisfied with the factors affecting job satisfaction with no statistical significant difference. But the hotel employees with different with levels of position were satisfied with the factors affecting job satisfaction with statistical significant difference at the .01 level. Executive employees were satisfied with the factors more than operative employees. The level of job satisfaction of the hotel employees ห่า Northeast of Thailand as a whole was high. When comparing the job satisfaction levels showed that The hotel employees with different genders, levels of position and levels of education were not statistical significant difference. But the hotel employees with different groups of provinces where each hotel located were found to be statistical significant difference at the .01 level. The hotel employees in the group of economic center provinces and the group of border provinces had job satisfaction more than the hotel employees in the group of non- economic center and non - border provinces. The factors affecting job satisfaction were related with job satisfaction of the hotel employees in Northeast of Thailand with statistical significant difference al Ihe .01 level. The aspect of interpersonal relationship were related with job satisfaction as the most of all aspects, secondary sequences such as the aspect of job security, working condition, policy and managemem. supervision, salary and fringe benefit, recognition, work itself, advancement and growth, responsibility and achievement respectively. It was recommended that hotel administrators should take merit systems into personnel administration, cooperate with others hotels in order to cooperation of personnel development, continually check and improve concerning on motivating factors and hygiene factors and apply administrative technics for increasing working efficiency of employees, especially, supplement to cooperation and unity and promote teamwork and TQM.en_US
dc.contributor.coadvisorณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศth_TH
dc.contributor.coadvisorวินัย รังสินันท์th_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77172.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons