Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7567
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนวลเสน่ห์ วงศ์เชิดธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชินา ถิรวัฒน์, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-12T01:12:04Z-
dc.date.available2023-07-12T01:12:04Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7567-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ความยุติธรรมของการ ประเมินผลการปฏิบัติงาน พนักงานโรงแรมในภาคตะวันออก (2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการรับ รู้ความยุติธรรมของการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ประกอบด้วย พนักงานที่ปฏิบัติงานในโรงแรมในภาคตะวันออก จำนวน 345 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับลักษณะส่วนบุคคลของ พนักงาน ลักษณะของผู้ประเมิน และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน มีค่าความเชื่อมั่นของแบบ สอบถามเท่ากับ .856 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยแบบที (t- test) และแบบเอฟ (F-test) การวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียว (One-Way AN0VA) และการทดสอบรายคู่ด้วยวิธี เชฟ่เฟ่ (Scheffe’s test) โดย ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for WINDOWS 10 ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับการรับรู้ความยุติธรรมของการประเมินผลการปฏิบัติงาน พนักงานโรงแรมในภาคตะวันออก โดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ วุฒิการคึกษา และความรู้ความเข้าใจในระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานที่ ต่างกัน มีการรับรู้ความยูติธรรมของการประเมินผลการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน แต่ปัจจัยลักษณะ ของผู้ประเมินด้านความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ ด้านความรู้ความเข้าใจในระบบการประเมิน ผลการปฏิบัติงาน และด้านความสัมพันธ์ที่ดีกับพนักงาน และปัจจัยวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ งานด้านความชัดเจนในการกำหนดเป้าหมายการทำงาน และด้านการแจ้งผลการประเมินที่ต่างกันมี การรับรู้ความยุติธรรมของการประเมินผลการปฏิบัติงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 ส่วนด้านความถี่ในการประเมิน และจำนวนของผู้ประเมิน ไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพนักงานโรงแรม -- ไทย (ภาคตะวันออก) -- การประเมินth_TH
dc.titleการรับรู้ความยุติธรรมของการประเมินผลการปฏิบัติงานพนักงานโรงแรมในภาคตะวันออกth_TH
dc.title.alternativePerception of fairness of the performance appraisal of the hotel's employees in the eastern regionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the perception of fairness of the performance appraisal’s level of the hotel’s employees in the eastern region; and (2) to study the factors which influent to the perception of fairness of the performance appraisal of the hotel’s employee in the eastern region. The sample consisted of 345 staffs working in the hotel in the eastern region. The instrument used for data collection was a questionnaire with its reliability of .856 regarding their knowledge and understanding in the performance appraisal system, appraiser’s characteristic, and appraisal method. The SPSS for WINDOWS computer program was used to analyze the percentage, mean, standard deviation, t- test, F-test, One-Way ANOVA and the Scheffe’s method. The study results revealed that (1) the perception of fairness of the performance appraisal’s level of the hotel’s employee in the eastern region was totally high; and (2) the difference of the employee’s perception of fairness of the performance appraisal based on sex, age educational level and employee’s knowledge and understanding in the performance appraisal system were not statistically significant, but the difference of the employee’s perception of fairness of the performance appraisal based on appraiser’s knowledge and understanding of their roles, appraiser’s knowledge and understanding in the performance appraisal, positive relationship with their employee and appraisal method’s factors in clearly identifying the objective task and performance appraisal feedback were statistically significant at the .05 level, whereas frequency and number of appraiser were not differenceen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77173.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.05 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons