Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7584
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตรา เพียรลํ้าเลิศ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพนัชกร ทินทนงค์, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-12T03:51:31Z-
dc.date.available2023-07-12T03:51:31Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7584-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง ปัญหาการปล่อยชั่วคราวและการบังคับตามสัญญาประกันโดยใช้บุคคลเป็นหลักประกันในชั้นศาล มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความหมาย แนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลย (2) ศึกษา เปรียบเทียบ กฎหมายที่เกี่ยวกับ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการปล่อยชั่วคราวโดยใช้บุคคลเป็นหลักประกันในชั้นศาลของไทยและกฎหมายต่างประเทศ (3) วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการปล่อยชั่วคราวและการบังคับตามสัญญาประกันโดยใช้บุคคลเป็นหลักประกันในชั้นศาลตามกฎหมายไทยโดยเปรียบเทียบกฎหมายประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศอังกฤษ (4) เสนอแนวทางการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการปล่อยชั่วคราวจำเลย และการบังคับตามสัญญาประกันโดยใช้บุคคลเป็นหลักประกันในชั้นศาลให้มีประสิทธิภาพต่อไป ผลการศึกษาพบว่า (1) มีการนำแนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรม มาใช้ในการกําหนดหลักเกณฑ์ทางกฎหมายเกี่ยวกับการปล่อยชั่วคราวโดยใช้บุคคลเป็นหลักประกันในชั้นศาล (2) หลักเกณฑ์ทางกฎหมายในการปล่อยชั่วคราวและการบังคับตามสัญญาประกันโดยใช้บุคคลเป็นหลักประกันในชั้นศาลตามกฎหมายต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศอังกฤษ เคร่งครัดกว่าของประเทศไทย (3) กฎหมายของไทยเกี่ยวกับการปล่อยชั่วคราวและการบังคับตามสัญญาประกันโดยใช้บุคคลเป็นหลักประกันในชั้นศาลไม่เคร่งครัด และไม่มีบทลงโทษผู้หลบหนีระหว่างปล่อยชั่วคราวในชั้นศาล (4) ควรแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับของประธานศาลฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการเรียกประกันหรือหลักประกันในการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2548 ข้อ 11 และเพิ่มเติมมาตรา 117/1 ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ให้มีการกำหนดโทษแก่จำเลยที่หลบหนีระหว่างปล่อยชั่วคราว ตลอดจนพัฒนาการบังคับตามสัญญาประกันให้มีประสิทธิภาพเช่นเดียวกับต่างประเทศth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการปล่อยชั่วคราวth_TH
dc.subjectหลักประกันth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleปัญหาการปล่อยชั่วคราวและการบังคับตามสัญญาประกันโดยใช้บุคคลเป็นหลักประกันในชั้นศาลth_TH
dc.title.alternativeProblems on provisional release and enforcement of contract made by a person standing as security during the court proceedingsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research aims (1) to study the meaning, concepts and theories relating to provisional release of the alleged offender or the accused; (2) to compare the laws, rules, procedures, and conditions regarding provisional release with contract made by a person standing as security during the court proceedings under Thai law and foreign laws; (3) to analyze the problems on provisional release and enforcement of contract made by a person standing as security in the court proceedings under Thai law in comparison with American and British laws; and (4) to propose solutions to the problems of the provisional release for the accused and the enforcement of contract made by a person standing as security. This particular research is a qualitative and documentary research by gathering information from textbooks, academic articles, theses, laws, regulations, rules which are relevant to provisional release and enforcement of contract made by a person standing as security both under Thai and foreign laws: and also by searching information from the internet to study, analyze and suggest the ways to solve problems. The research finds that (1) the theories and concepts on the Criminal Process Model have been applied to set legal rules on provisional release and enforcement of contract made by a person standing as security during the court proceedings; (2) the legal rules on provisional release and enforcement of contract by a person standing as security during the court proceedings, especially in the United States and the United Kingdom are stricter than those legal rules in Thailand; (3) Thai law on provisional release and enforcement of contract by a person standing as security in court proceedings is not rigorous, and there is no provision of punishment to those absconding accused after being granted the provisional release; and (4) article 11 of the Regulations of the President of the Supreme Court on the procedures and conditions regarding application for provisional release B.E. 2548 should be amended. Section 117/1 of the Criminal Procedure Code should impose penalty to the accused who escaping during the provisional release. Also, Thai Criminal Procedure should increase its effectiveness in enforcing security contract to meet the standards set forth in foreign countries.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม25.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons