Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7585
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorราณี อิสิชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิติพล สิงห์ปรุ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-12T03:53:45Z-
dc.date.available2023-07-12T03:53:45Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7585-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิชัยครั้งนี้มีวัตคุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดที่เกี่ยวกับ ธรรมชาติความรู้ องค์ความรู้ ในองค์การ การบริหารจัดการความรู้ในบริษัท เชฟรอนประเทศไทยสำรวจและผลิต จำกัด (2) ศึกษา กระบวนการจัดการความรู้การกัาวสู่องค์การที่ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและเพิ่มประสิทธิภาพ ในการจัดการความรู้ใน บริษัทฯ (3) ศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารจัดการความรู้ และสิ่งที่ท้า ทายของการบริหารจัดการความรู้ด้วยระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ในบริษัทฯ (4) เสนอแนะการ พัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ของ บริษัท เชฟ่รอนประเทศไทยสำรวจและผลิต จำกัด การวิจัยเป็นการวิจัยแบบบูรณาการ การวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยเป็นแบบสอบถาม มีความเชื่อถือได้เท่ากับ 0.964 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ารัอย ละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน และการทดสอบแบบที และแบบแอฟ เพื่อทดสอบสมมติฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) บริษัทฯมีลักษณะการจัดการความรู้โดยมีขั้นตอนเป็น 3 ขั้นได้แก่ การรวบรวมความรู้ภายในองค์การ การสร้างองค์ความรู้ใหม่ การถ่ายทอดความรู้และการใช้ประโยชน์ (2) ผลสำรวจความสำเร็จในการใช้เครื่องมือจัดการความรู้ขององค์การ ซึ่งส่วนใหญ่ได้มีการจัดทำบน ระบบสารสนเทศ ผลสำรวจความสำเร็จอยู่ในระดับ”ต่ำ” (3) พนักงานบริษัทเชฟรอนประเทศไทย สำรวจและผลิตจำกัดที่มีลักษณะบุคคลต่างเพศและต่าแหน่งงานที่แตกต่างกันมีระดับความคิดเห็นต่อ รูปแบบการจัดการความรู้ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) การใช้เครื่องมือยัง มีการกระจุกอยู่ในกลุ่มพนักงานบนฝังโดยเฉพาะอย่างยิ่งระดับผู้บังคับบัญชา สำหรับข้อเสนอแนะใน การพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ บริษัทหรือส่วนงานที่รับผิดชอบดูแลควรมีการกำหนดรูปแบบ และวัตคุประสงค์การใช้เครื่องมือในการจัดการความรู้แต่ละชนิดให้ชัดเจนและสอดคล้องกับสภาพ สารสนเทศในองค์การ โดยเปิดเผยให้พนักงานทุกระดับทราบอย่างทั่วถึง ควรหาวิธีการปรับปรุง เพิ่มเติมประสิทธิภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการจัดการความรู้บนระบบสารสนเทศให้มีความสเถียรและ สะดวกต่อผู้ใช้ทุกระดับและทุกสถานที่ที่ทำงาน ส่วนกระบวนการจัดการความรู้ในองค์การ ในส่วน การจัดการความรู้ซ่อนเรันนั้น ควรมีการกำหนดวัตถุประสงค์รูปแบบการวัดผล ประเมินและติดตาม ให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.87-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการเรียนรู้องค์การth_TH
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้th_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ในบริษัท เชฟรอนประเทศไทยสำรวจและผลิต จำกัดth_TH
dc.title.alternativeA development of the knowledge management models in Chevron Thailand exploration and production, company limitedth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.87-
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativepurposes of this research were (1) to examine the nature of knowledge, knowledge in organization and knowledge management in Chevron Thailand Exploration and Production, Limited. (2) to examine knowledge process, movement forwards into organization using information technology for managing knowledge and an increase in efficiency of knowledge management in organization (3) to examine factors influencing knowledge management and challenging factors for managing knowledge by information technology in organization (4) to propose suggestions how to improve knowledge management in organization. The research was integrated between qualitative and quantitative and the research instrument was a questionnaire with 0.964 level of reliability. The statistics methods arc arithmetic means, standard deviation, t-Test and ANOVA. The research findings were (1) The knowledge management process consists of these steps as follows, Knowledge Acquisition (capture and store in organization) Knowledge Creation and Knowledge Transfer and Utilization. (2) Usage level of knowledge management tools on information technology was low. (3) Chevron’s employees that have personal difference in gender and work level also have a significant differential satisfaction level 0.05 in chevron’s knowledge management models. (4) Knowledge management tools have been limited using by onshore supervisory level that show knowledge management in organization is not good for cascading objective from top to down. In order to develop knowledge management models the concerns person or department has to improve the knowledge management tools on information technology to be comprehensive and consistent. Tacit knowledge management should be specific and measurable objectives, Which require evaluation and follow' upen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118911.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.44 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons