Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7593
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญth_TH
dc.contributor.authorปราโมทย์ คงสวัสดิ์, 2509-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-12T06:16:47Z-
dc.date.available2023-07-12T06:16:47Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7593en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัฅถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวโน้มของธุรกิจการให้บริการโครงข่ายสื่อสารข้อมูลในประเทศไทย ในด้านต่างๆ ดังนี้ (1) ปัจจัยกำหนดทิศทางของธุรกิจ (2) บทบาทของธุรกิจในด้านต่างๆ (3) รูปแบบของการให้บริการ และ (4) สภาพการแข่งขันของอุตสาหกรรมในการศึกษาแนวโน้มของธุรกิจใช้วิธีการวิจัยแบบเทคนิคเดลฟาย โดยใช้แบบสอบถาม 3 รอบ ศึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 17 ท่าน ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามตามเทคนิคเดลฟาย ได้นำมาวิเคราะห์โดยการคำนวณหาค่ามัธยฐาน ฐานนิยม และพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า แนวโน้มของธุรกิจการบริการโครงข่ายสื่อสารข้อมูลมีแนวโน้มค่อนข้างมากในประเด็นต่อไปนี้ ต้นทุน การเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบจากภาครัฐ การหาแหล่งรายได้ใหม่ๆ เทคโนโลยี คุณภาพของบริการ รูปแบบของบริการ ภาวะเศรษฐกิจจะเป็นปัจจัยสำคัญในการกำหนดทิศทางของธุรกิจ การบริหารต้นทุนจะมีความสำคัญมากขึ้นและการบริการรูปแบบใหม่ๆจะเพิ่มมากขึ้น ธุรกิจจะมีบทบาทสำคัญในด้านเศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง การสาธารณสุข การศึกษา สังคมและวัฒนธรรม บริการ ISDN และ X.25 จะมีความต้องการลดลง ตลาดของ Leased Line/Leased Circuit, Frame Relay และ ATM ยังคงเติบโตต่อไป ความต้องการ จะมากขึ้นในบริการ xDSL, IPsec, Gigabit Ethernet, Dark Fiber และบริการ สื่อสารข้อมูลแบบไร้สาย แรงผลักดันที่ส่งผลกระทบต่อสภาพการแข่งขันของอุตสาหกรรม ได้แก่ การเข้ามาของคู่แข่งขันรายใหม่ การคุกคามของสินด้าและบริการทดแทนรวมทั้งอำนาจการต่อรองของผู้ใช้บริการ ผู้ให้บริการรายใหม่จะเป็นบริษัทข้ามชาติหรือบริษัทร่วมทุนที่เกิดจากการรวมตัวกันของบริษัทต่างชาติกับบริษัทในประเทศและใช้กลยุทธ์การสร้างความแตกต่าง กลยุทธ์ราคาและกลยุทธ์การร่วมทุนหรือซื้อกิจการจากผู้ให้บริการเดิม ส่วนผู้ให้บริการรายเดิมจะใช้กลยุทธ์ได้แก่ การขยายฐานลูกค้าใหม่ การรักษาฐานลูกค้าเดิม และการเป็นพันธมิตรทางธุรกิจ ภายหลังการเปิดเสรีโทรคมนาคมจะเหลือเฉพาะผู้ประกอบการรายใหญ่ สินค้าและบริการทดแทนจะมีมากขึ้น และผู้ใช้บริการจะมีอำนาจต่อรองสูงขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectระบบสื่อสารข้อมูลth_TH
dc.titleแนวโน้มของธุรกิจการให้บริการโครงข่ายสื่อสารข้อมูลในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeTrends of data communication network services in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study trends of data communication network services in Thailand in the following fields (1) Factors influence the business direction (2) Roles of the business (3) Service models and (4) Competition in the industry The Delphi Technique was utilized as the methodology for studying trends. Three rounds of questionnaire were conducted to study opinions of 17 experts. All statements were then analyzed by means of mode, median, and inter-quartile range. Research findings were as follow: The most likely trends of data communication network services would be; The factors influence the business direction are cost, deregulation, source of new revenue, technology, quality of service, application and economic condition. Needs for cost management and new applications would increase. The business would play more important roles in Economics, Politics, Public Health, Education, Society and Culture. Needs for ISDN and X.25 would decline while leased line/leased circuit, Frame Relay and ATM market would keep growing up. Needs for services such as xDSL, IPsec, Gigabit Ethernet, Dark Fiber and wireless data communication would increase. Driving forces such as new entrants, substitutes and power of buyers would influence the industry. New entrants would be foreign direct investor or joint venture company. The new entrants’ strategies would be service differentiation, mergers and acquisitions or focus on pricing. The incumbent operators’ strategies would be market expansion, market penetration and alliance. After liberalization in telecommunication sector, only major players could be survived and the number of substitutes would increase while buyer power continue stronger.en_US
dc.contributor.coadvisorสรชัย พิศาลบุตรth_TH
dc.contributor.coadvisorอดิลล่า พงศ์ยี่หล้าth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77517.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.02 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons