Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7594
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิตติพร ดิษฐสร้อย-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-12T06:28:01Z-
dc.date.available2023-07-12T06:28:01Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7594-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อวิเคราะห์ (1) ปัญหาการบริหารจัดการขององค์การ บริหารส่วนตำบลพระธาตุบังพวนและองค์การบริหารส่วนตำบลจัดธาตุในอำเภอเมืองจังหวัดหนองคาย (2) แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนตำบลพระธาตุบังพวนและองค์การบริหาร ส่วนตำบลวัดธาตุ และ (3) ปัจจัยที่มีส่วนสำคัญทำให้แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการขององค์การ บริหารส่วนตำบลพระธาตุบังพวนและองค์การบริหารส่วนตำบลวัดธาตุประสบผลสำเร็จ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามซึ่งผ่านการทดสอบรวมทั้งการหา ค่าความเที่ยงตรง และความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.92 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลพระธาตุบังพวนและองค์การบริหารส่วนตำบลวัดธาตุ ในอำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย รวม 1,052 คน เก็บรวบรวมแบบสอบถามคนมาได้ 918 ชุด คิดเป็นร้อยละ 87.26 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 1,052 ชุด สำหรับสถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที นอกจากนี้ ยังมีการสัมภาษณ์แนวลึกเฉพาะ ผู้เชี่ยวชาญอีกด้วย ผลการศึกษาวิเคราะห์พบว่า องค์การบริหารส่วนตำบลทั้ง 2 แห่ง มีความคิดเห็นไม่ แตกต่างกันกล่าวคือ (1) ปัญหาที่สำคัญคือองค์การบริหารส่วนตำบลใช้จ่ายงบประมาณอย่างฟุ่มเฟื่อย (2) แนวทางการพัฒนา ที่สำคัญคือ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นควรจัดการพัฒนาจิตสำนึกและ ประสิทธิภาพของบุคคลากรโดยเน้นเรื่องในการใช้จ่ายงบประมาณอย่างประหยัด รวมทั้ง การเปิด โอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างกว้างขวางในการติดตามและตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณ และ (3) ปัจจัยที่มีส่วนสำคัญทำให้แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนตำบล ประสบผลสำเร็จ ที่สำคัญคือ การใช้กระบวนการคัดเลึอกบุคคลเข้าสู่ตำแหน่งตามระบบคุณธรรมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--การบริหารth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--ไทย--หนองคายth_TH
dc.titleการวิเคราะห์การบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนตำบลพระธาตุบังพวนและองค์การบริหารส่วนตำบลวัดธาตุ ในอำเภอเมือง จังหวัดหนองคายth_TH
dc.title.alternativeThe analysis of management administration of the Phra That Bang Phuan and the Wat That subdistrict administrative organizations in Muang district, Nongkhai provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe main objectives of this study were to analysis study (1) the problems of management administration of the Phra That Bang Phuan and the Wat That Subdistrict Administrative Organizations in Muang District, Nongkhai Province, (2) the development guidelines of management administration of the Phra That Bang Phuan and the Wat That Subdistrict Administrative Organizations, and (3) the factors taking important parts of the success of the development guidelines of management administration of the Phra That Bang Phuan and the Wat That Subdistrict Administrative Organizations. This study was a survey research using questionnaires. The questionnaires were pre-tested and checked for validity and reliability with 0.92 level of reliability. The samples consisted of 1,052 people in areas of the Phra That Bang Phuan and the Wat That Subdistrict Administrative Organizations in Muang District, Nongkhai Province. 918 of 1,052 questionnaires were retrieved with 87.26 %. Statistical analysis used for the study were percentage, mean, standard deviation, and t-test. Also, in- dept interview of experts was applied. The analysis study results showed the both subdistrict administrative organizations’ opinions were indifference, namely (1) the important problem was the subdistrict administrative organizations’ budget spending extravagantly; (2) the important development guideline of management administration was the Department of Local Government should provide the development of officers’ consciousness and efficiencies emphasizing on budget spending economically and opening widely opportunity for people participation in following and checking; and (3) the major factor taking important parts of the success of the development guidelines of management administration of the subdistrict administrative Organizations was the application of personnel recruitment process according to the moral systemen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118913.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.05 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons