Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7628
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กิ่งพร ทองใบ | th_TH |
dc.contributor.author | กรรณุมา เลาห์กมล, 2505- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-13T02:15:22Z | - |
dc.date.available | 2023-07-13T02:15:22Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7628 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับทัศนคติของพนักงานระดับปฏิบัติการการสื่อสารแห่งประเทศไทย ที่มีต่อนโยบายการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (2) ศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดความแตกต่างของทัศนคติของพนักงานระดับปฏิบัติการการสื่อสารแห่งประเทศไทยต่อนโยบายการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ และ (3) เสนอแนวทางในการสร้างทัศนคติของพนักงานระดับปฏิบัติการการสื่อสารแห่งประเทศไทย ที่เอื้อต่อนโยบายการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานระดับปฏิบัติการการสื่อสารแห่งประเทศไทย ที่ปฏิบัติงานอยู่ ณ สำนักงานใหญ่ ถนนแจ้งวัฒนะกรุงเทพมหานคร โทรคมนาคมภูมิภาค 1 และ 2 และ ไปรษณีย์ภูมิภาค 1 และ 2 จำนวน 400 คน การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบแบบที และแบบเอฟ และการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่โดยวิธี LSD (Lease Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติต่อนโยบายการแปรรูปรัฐวิสาหกิจโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ทัศนคติด้านการเปลี่ยนแปลงสถานภาพอยู่ในระดับปานกลาง ด้านสิทธิประโยชน์อยู่ในระดับมาก ด้านความมั่นคงในอาชีพอยู่ในระดับปานกลาง และด้านความก้าวหน้าในอาชีพอยู่ในระดับน้อย (2) ปัจจัยที่ทำให้เกิดความแตกต่างของทัศนคติของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ อายุ และ ระดับตำแหน่ง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วน เพศ ระดับการศึกษา อายุงานที่ปฏิบัติใน กสท. อัตราเงินเดือน และหน่วยงานที่สังกัด ที่แตกต่างกันไม่มีผลต่อทัศนคติของกลุ่มตัวอย่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (3) ความร้คูวามเข้าใจต่อนโยบายการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ที่แตกต่างกันไม่มีผลต่อทัศนคติของกลุ่มตัวอย่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ พร้อมทั้งมีข้อเสนอแนะว่าองค์กรควรจะสร้างความรู้ความเข้าใจกับกลุ่มพนักงานที่มีอายุ 31-50 ปี และมีระดับตำแหน่ง 4-7 เพราะกลุ่มเหล่านี้มีทัศนคติเห็นด้วยต่อนโยบายการแปรรูปในระดับตํ่ากว่ากลุ่มอื่น ๆ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การสื่อสารแห่งประเทศไทย | th_TH |
dc.subject | การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ | th_TH |
dc.subject | ทัศนคติ | th_TH |
dc.title | ทัศนคติของพนักงานระดับปฏิบัติการการสื่อสารแห่งประเทศไทย ต่อนโยบายการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ | th_TH |
dc.title.alternative | Attitude of the communications authority of Thailand's employees at the operation level towards the privatization policy of public enterprises | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to study the attitude level of the communications authority of Thailand’s employees at the operation level towards the Privatization Policy of Public Enterprises, (2) to study factors affecting the differentaion of attitude levels of the employees; and (3) to offer possible means to encourage possitive attitude of the employees towards the privatization. The subject consisted of 400 employees of the Communications Authority of Thailand at Head office Telecom. Regions 1 & 2 and Post 1 & 2. This research was a survey. The tool used for data correction is questionnaire. The results were in frequency distribution, percentage, average, mean, standard deviation, t-test, F-test and compare their average in pair by using LSD (Lease Significant Difference). The findings were as follows : (1) The attitude of the sample group toward the policy, in general was at moderate level. Individually the attitude toward the status was at moderate level, the benefit right high, the job reliability moderate and job advancement low; (2) the factors affecting the attitude‘s differences were ages and job positions. The statistically significant difference was 0.05. While attitude‘s differences by sex, education levels, working years, salary and working units had no statistical significance; and (3) the understanding in the policy had no statistical difference, either. It was recommended that the authority try to convince the sample groups of 31-50 old ages and of 4-7 levels because their attitude toward the privatization is low when compared with other groups. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | รสคนธ์ รัตนเสริมพงศ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License